Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
เป็นกระบวนการทำให้กระเพาะปัสสาวะว่าง เมื่อปริมาณปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะเพิ่มขึ้น จะเกิดแรงดันไปกระตุ้นปลายประสาทที่ผนังกระเพาะปัสสาวะบริเวณ Bladder neck
1.1 อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ (Developmental growth)
1) วัยเด็
ก เด็กทารกกระเพาะปัสสาวะมีความจุน้อย การขับถ่ายปัสสาวะจึงบ่อยครั้งกว่าผู้ใหญ่
2) ผู้สูงอายุ
จากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายตามวัย เมื่อมีน้ำปัสสาวะเพียง 150-200 มิลลิลิตร
1.2 น้ำและอาหาร (Food and fluid)
1) จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
ถ้าร่างกายได้รับน้ำมากจำนวนครั้งของการขับถ่ายและปริมาณปัสสาวะก็จะมาก
2) จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสีย (Loss of body fluid)
เช่น การสูญเสียเหงื่อ มีไข้สูง
3) อาหารที่ร่างกายได้รับ (Food intake)
เช่น อาหารที่มีความเค็มมาก
1.3 ยา (Medication)
เช่น ยาที่ขับออกทางระบบปัสสาวะจะส่งผลให้สีของน้ำปัสสาวะเปลี่ยนแปลง
1.4 ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
เช่น ความเครียดและความวิตกกังวลกระตุ้นอยากถ่ายปัสสาวะบ่อยขึ้น
1.6 ลักษณะท่าทาง (Body position)
โดยปกติผู้ชายจะใช้ท่ายืนซึ่งพบว่าผู้ชายบางรายจะมีปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะเมื่ออยู่ในท่านอนราบ
1.7 กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Activity and Muscle tone)
1) การออกกำลังกายสม่ำเสมอ
2) ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้เป็นเวลานาน ทำให้กระเพาะปัสสาวะตึงตัวน้อยลง
2. แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
2.1 แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
1) แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
(1) อยากถ่ายปัสสาวะเมื่อมีปริมาณปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ 100-400
(2) กรณีอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันที ต้องสามารถกลั้นได้
(3) เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที
(4) ตลอดการถ่ายปัสสาวะจะไม่มีอาการเจ็บปวด
(5) ลำปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
2) ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
มีดังนี้
(1) ปริมาณปัสสาวะปกติในผู้ใหญ่ ประมาณวันละ 800–1,600 มิลลิลิตร
(2) ลักษณะใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
(3) สีเหลืองจางจนถึงสีเหลืองเข้ม สีเหลืองฟางข้าว หรือสีเหลืองอำพัน
(4) มีความเป็นกรดอ่อนๆ pH ประมาณ 4.6-8.0
(5) มีความถ่วงจำเพาะ (Specific gravity) ประมาณ 1.015-1.025
2. แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
2.1 แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
1) แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
(1) อยากถ่ายปัสสาวะเมื่อมีปริมาณปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ 100-400
(2) กรณีอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันที ต้องสามารถกลั้นได้
(3) เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที
(4) ตลอดการถ่ายปัสสาวะจะไม่มีอาการเจ็บปวด
(5) ลำปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
2) ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
2) ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ มีดังนี้
(1)ปริมาณปัสสาวะปกติในผู้ใหญ่ ประมาณวันละ 800–1,600 มิลลิลิตร
(2)ลักษณะใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
(3)สีเหลืองจางจนถึงสีเหลืองเข้ม สีเหลืองฟางข้าว หรือสีเหลืองอำพัน
(4)มีความเป็นกรดอ่อนๆ pH ประมาณ 4.6-8.0
(5)มีความถ่วงจำเพาะ (Specific gravity) ประม
2.2 การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
1) ไม่มีปัสสาวะ (Anuria/Urinary suppression) เป็นภาวะที่มีปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า
50 มิลลิลิตรต่อวันหรือไม่มีการปัสสาวะเลย
2) ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (Oliguria) เป็นภาวะที่มีปัสสาวะน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ใน 24
ชั่วโมง หรือน้อยกว่า 30 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
3) ปัสสาวะมากกว่าปกติ (Polyuria หรือ Diuresis) เป็นภาวะที่ไตผลิตปัสสาวะออกมา
จำนวนมากกว่าปกติ (มากกว่า 2,500–3,000 มิลลิลิตรต่อวัน)
4) ปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia) เป็นภาวะที่มีการถ่ายปัสสาวะในตอนกลางคืน
มากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป
5) ปัสสาวะขัด ปัสสาวะลำบาก (Dysuria) เป็นภาวะที่มีการเบ่งถ่ายปัสสาวะ ผู้ป่วยจะรู้สึก
ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ ถ่ายลำบาก ต้องใช้เวลาและใช้แรงในการเบ่งเพิ่มขึ้น
3. ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
3.1 ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงปนออกมาในน้ำปัสสาวะ
ทำให้ปัสสาวะเป็นสีแดง อาจเห็นชัดเป็นเลือดสดๆ
3.2 น้ำตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
ภาวะที่มีน้ำตาลปนออกมาในน้ำปัสสาวะ โดย
คนปกติจะตรวจไม่พบน้ำตาลในปัสสาวะ
3.3 โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)
ภาวะที่มีโปรตีนหรือ
แอลบูมิน ในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน
3.4 คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
ภาวะที่ตรวจพบคีโตนในน้ำปัสสาวะโดยคีโตนเป็น
ผลจากการเผาผลาญไขมันให้เป็นพลังงาน แทนพลังงานที่ได้จากน้ำตาล
3.5 ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน (Bilirubinuria หรือ Choluria)
ภาวะที่ ตรวจพบบิลิรูบินในน้ำปัสสาวะ โดย bilirubin เป็น Breakdown product ของ Hemoglobin ซึ่งปกติจะ ไม่พบในปัสสาวะ ถ้าพบ Conjugated bilirubin ในปัสสาว
3.6 ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria)
ภาวะที่มีการสลายตัวของ
เม็ดเลือดแดงทำให้เกิด Oxyhemoglobin หรือ Methemoglobin ในปัสสาวะ
3.7 ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
ภาวะปัสสาวะที่มีเซลล์หนอง เม็ดเลือดขาวในน้ำ
ปัสสาวะบางครั้ง อาจพบมีแบคทีเรียร่วมด้วย
4. หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
4.1 ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ในผู้ใหญ่ควรได้รับน้ำสะอาด อย่างน้อยวันละ
6-8 แก้ว
4.2 ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
1) ดื่มน้ำ อย่างน้อยวันละ 8 แก้ว (แก้วละ 240 มิลลิลิตร)
2) ฝึกถ่ายปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง เพื่อชะล้างแบคทีเรียออกจากท่อปัสสาวะ
3) ดื่มน้ำ 2 แก้วก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์ และปัสสาวะทิ้งทันทีหลังจากมีเพศสัมพันธ์
4) อาบน้ำด้วยฝักบัวแทนอาบในอ่างอาบน้ำ หลีกเลี่ยงการใช้สบู่ที่แรง
4.3 ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
การกระตุ้นให้บริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ
จะช่วยป้องกันกล้ามเนื้อหย่อนสมรรถภาพได้ โดยการทำ Kegel exercise
4.4 การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
1) จัดให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวในที่มิดชิดขณะถ่ายปัสสาวะ สิ่งแวดล้อมในห้องน้ำสะอาดและ
2) ช่วยให้ผู้ป่วยได้ถ่ายปัสสาวะในท่าที่สะดวกเป็นธรรมชาติ
3) การเปิดก๊อกน้ำให้ได้เห็น หรือได้ยินเสียงน้ำไหลจะช่วยในด้านองค์ประกอบทางอารมณ์
4) การใช้ความร้อนช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ เช่น การใช้น้ำอุ่นราดบริเวณฝีเย็บ
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
ช่วยทำให้กระเพาะ
ปัสสาวะว่าง
4.6 เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
เป็นวิธีที่ใช้สำหรับผู้ป่วยที่มีความบกพร่องเกี่ยวกับ
ความรู้ความเข้าใจในช่วงเวลาถ่ายปัสสาวะที่ยาวนานมาก
การสวนปัสสาวะ
5.1 วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
1) เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
2) เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
3) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
4) เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
5) เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
6) เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
7) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
5.2 ชนิดของการสวนปัสสาวะ มี 2 ชนิด
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (Intermittent catheterization) เป็นการใส่สายสวนปัสสาวะผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
2) การสวนคาสายสวนปัสสาวะ ( Indwelling catheterization or retained
catheterization)
การเลือกใช้สายสวนปัสสาวะควรพิจารณาวัตถุประสงค์ของการใช้งานและขนาดของสายสวนปัสสาวะ
(1) สายสวนปัสสาวะที่ใช้สวนเป็นครั้งคราว ควรเลือกใช้แบบ Straight catheter ส่วนการสวนคาสายสวนปัสสาวะควรใช้ Foley catheter เพราะมีบอลลูลอยู่ส่วนปลายสาย
(2) ขนาดของสายสวนปัสสาวะ วัดจากเส้นผ่าศูนย์กลางรอบนอกของสายสวน โดยเรียกเป็นมาตราฝรั่งเศส
6. หลักการพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ (Condom
catheter)
6.1 วัตถุประสงค์
1) เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง
2) ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
3) ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
7. การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
7.1 วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำสะอาด ล้างมือให้สะอาด และเช็ดให้แห้ง
7.2 วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
1) ใช้ Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะที่ใต้รอยต่อระหว่างสายต่อของถุงกับสายสวนไว้นานประมาณ 15–30 นาที เพื่อให้มีปัสสาวะใหม่เก็บอยู่ก่อน
2) เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื้อ Sterile swab น้ำยาฆ่าเชื้อ
3) ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด เช็ดบริเวณที่จะเก็บปัสสาวะด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
7.3 วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เป็นการเก็บปัสสาวะที่มีการรวบรวมไว้จนครบ 24 ชั่วโมงแล้ว
ส่งตรวจ เริ่มเก็บปัสสาวะเวลา 08.00 น. โ
8. กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
8.1 การประเมิน
8.2 การวินิจฉัยทางการพยาบาล
8.3 การวางแผนการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล
8.4 ประเมินผลการพยาบาล