Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารตามธาตุกับวัฒนธรรมจีน :red_cross:, chinese-food-fook-lam - Coggle…
อาหารตามธาตุกับวัฒนธรรมจีน :red_cross:
วัฒนธรรรมจีน :<3:
ประเทศจีน
ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับว่าเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดของทวีปเอเชียมีพรมแดนติดต่อประเทศต่าง โดยรอบ 15 ประเทศ
เกาหลีเหนือ รัสเซีย มองโกเลีย คาซัคสถาน เคอร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย เนปาล สิกขิม ภูฐาน พม่า ลาว และเวียดนาม
ประเพณีจีน
เป็นเทศกาลที่ถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยอดีตมาจนถึงปัจจุบัน ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อ อันเป็นจุดกำเนิดของชาวจีน
แบ่งได้เป็น 3 ประเภท
กินเพื่อสุขภาพ กินด้วยจิตเมตตากินเพื่อเว้นกรรม
เทศกาลเช็งเม้ง เป็น การไหว้บรรพบุรุษที่สุสาน ฮวงซุ้ย(แต้จิ๋ว) หรือ บ่องซุ่ย(ฮกเกี้ยน) เป็นการแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ
อาหารจีน
นิยมรับประทานอาหารจานผักและธัญพืชเป็นหลัก
ในราชสำนักที่จะมีอาหารประเภทเนื้อเป็นหลัก อุปกรณ์การกินหลัก คือตะเกียบ
มีอาหารจีน 2 ตระกูลใหญ่
อาหารเมืองเหนือ และเมืองใต้
อาหารบ่งชี้ชนชั้น
อาหารเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจและสถานะทางสังคม แสดงถึงตัวตนของผู้กิน
การแพทย์และยาแผนจีน :<3:
การแพทย์แผนโบราณของจีน
ความสำคัญกับปัจจัยด้านเวลาสิ่งแวดล้อมและสภาพร่างกายของแต่ละบุคคลมาก ดังนั้นการวินิจฉัยและรักษาโรค จะพิจารณาจากปัจจัยรอบด้านและให้ความสำคัญกับแนวคิดองค์รวมของร่างกายเป็นสำคัญวิธีการรักษาของการแพทย์แผนจีน
แบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆ
การรักษาภายในด้วยการรับประทานยาและการรักษาภายนอกด้วยยาทา
ทฤษฎีธาตุห้าวัฒนธรรมอาหารจีน :<3:
ชาวจีนเชื่อว่าอาหารที่ดี ไม่ได้ทำหน้าที่แค่ให้ท้องอิ่มหรือรสชาติดีเป็นสำคัญ
ความสำคัญกับธาตุทั้ง 5 จากความเชื่อที่ว่า ‘ฟ้า ดิน และมนุษย์เป็นหนึ่งเดียวกัน’ คือธาตุที่ประกอบด้วยไม้ ไฟ ดิน โลหะ และน้ำ
การกินจึงต้องคำนึงถึงฤดูกาล สภาพแวดล้อม อากาศ และอาหารที่ให้ฤทธิ์ร้อน-เย็น รวมทั้งรสชาติที่ส่งผลต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกายและอาหารทำหน้าที่เป็นยาป้องกันและรักษา
ความเชื่อเกี่ยวกับวัฒนธรรมอาหารจีน :<3:
คนกวางตุ้งกินได้ทุกอย่างไม่ว่าจะอยู่บนฟ้า ในน้ำ หรือบนดินก็จับมาปรุงอาหารได้หมดทั้งเป็ด ไก่ หมู กุ้ง หอย ปู ปลา ไปจนถึง ‘เหย่เว่ย’
ความเชื่อเรื่องสรรพคุณของค้างคาวที่ช่วยเสริมสร้างกำลังวังชา
คลายหนาวไปจนถึงเป็นสัญลักษณ์ของสัตว์มงคลตามความเชื่อของจีน
ทฤษฏีหยิน – หยาง :<3:
“ร่างกายมนุษย์จำเป็นต้องดำรงหยิน-หยางให้คงไว้ในสภาวะสมดุล”
ร่างกายประกอบด้วยเนื้อเยื่อ โครงกระดูก เส้นผม เล็บ ซึ่งเป็นหยิน ส่วนหยางคือพลังงานของชีวิต ภายใต้สภาพปกติ
โรคหยาง เป็นโรคชนิดเฉียบพลันมีลักษณะเดินหน้าและเพิ่มขึ้น มักปรากฏเป็นอาการไข้สูง จิตใจกระสับกระส่าย
กระหายน้ำ ชอบกินของเย็น ท้องผูก ขัดเบา
โรคหยิน เป็นโรคชนิดเรื้อรังมีลักษณะถอยหลังและลดลง มักปรากฏเป็นอาการเย็นง่าย หนาวง่าย
รสทั้งห้าของอาหาร :<3:
รสเผ็ด เป็นอาหารจำพวกหยาง ช่วยระบาย ช่วยให้พลังเดิน ทำให้โลหิตไหลเวียน แก้ไข้ปวดกระเพาะ ปวดรอบเดือน
รสหวาน (รวมรสจืด) เป็นอาหารจำพวกหยาง ช่วยปรับโจงชี่ให้สมดุล
รสเปรี้ยว (รวมรสฝาด) เป็นอาหารจำพวกหยิน ช่วยหยุดการหลั่งของเหลวและเพิ่มน้ำในร่างกาย
รสขม เป็นอาหารจำพวกหยิน ช่วยขับร้อน สลายชื้น ปรับสภาวะพลังย้อนกลับ
อาหารรสขมได้แก่ เก๋ากี้ ผักขม มะระ รสเค็ม เป็นอาหารจำพวกหยิน ช่วยระบาย และขับของเหลวในร่างกาย
ธาตุทั้งห้าจะมีความสัมพันธ์ต่อกันใน 2 ลักษณะ :<3:
การสร้าง หมายถึงการหนุนเนื่องให้มีการเกิดและการพัฒนา ธาตุที่เป็นตัวสร้างถือเป็น ธาตุ”แม่” ส่วนธาตุที่ถูกสร้างถือว่าเป็นธาตุ “ลูก”
การข่ม หมายถึงการคุม หรือกดกันไว้ การสร้างและการข่มจะดำเนินควบคู่สัมพันธ์กันในลักษณะสมดุลเพื่อทำให้สิ่ง ทั้งหลายเกิดขึ้นเจริญเติบโต
การกินตามหยิน– หยาง :<3:
การกินอาหารจึงต้องสังเกตว่าสภาพร่างกายของตัวเองร้อนหรือเย็น
การกิน
สิ่งแรกที่ทุกคนมักคิดถึงคือหลักของความสมดุลที่เรียกว่า หยิน – หยาง “คนจีนเน้นเรื่องความสมดุลหยิน – หยาง"
อาการที่พบบ่อยเมื่อหยิน–หยางไม่สมดุล :<3:
หยินพร่องคือสารที่เป็นน้ำในร่างกายน้อยทำให้มีอาการคล้ายคนขาดน้ำ
การกินเยียวยาอาการหยินพร่องแนะนำให้กินผักและผลไม้ที่มีน้ำมาก เช่น สาลี่ แครอท หัวไช้เท้า กินผักมากๆ
หยางพร่องเกิดจากความอบอุ่นหรือไฟในร่างกายน้อยลง ข้างในจึงเย็น มีอาการฝ่ามือ – ฝ่าเท้าเย็นหนาวง่าย
การกินเยียวยาอาการหยางพร่องแนะนำให้กินอาหารที่มีฤทธิ์ร้อน ซึ่งเป็นอาหารที่ให้พลังงานประเภทเนื้อสัตว์ รังนกซุปต่างๆ
หยางเกินเกิดจากหยางพุ่งขึ้นข้างบน ทำให้เลือดพุ่งขึ้นข้างบนทำให้มีอาการหน้าแดง ตาแดงโมโหง่าย ความดันโลหิตสูง
การกินเยียวยาอาการหยางเกินควรงดแอลกอฮอล์ กาแฟ รวมทั้งยาบำรุงบางชนิดที่ให้ความร้อน
อาหารประจำธาตุ :<3:
อาหารประจำธาตุดิน
ได้แก่ อาหารที่มีสีเหลือง เช่นถั่วเหลือง ข้าวฟ่าง ลูกเดือย เม็ดบัว ฟักทอง ข้าวโพด แครอทเต้าหู้
อาหารประจำธาตุไฟ
ได้แก่ อาหารที่มีสีแดง เช่น ทับทิมเรดเบอร์รี่ สตรอว์เบอร์รี่ เห็ดหลินจือแดง
อาหารประจำธาตุน้ำ
ได้แก่ อาหารที่มีสีดำ เช่น งาดำถั่วดำ เห็ดหลินจือ เห็ดหอม แบล็กเบอร์รี่
อาหารประจำธาตุไม้
สีเหลืองเขียว ตามสีของน้ำดีจากตับ ตลอดจนอาหารรสเปรี้ยว
อาหารประจำธาตุโลหะ
ได้แก่ อาหารที่มีสีขาว เช่นหัวไช้เท้า ผักกาดขาว ตลอดจนอาหารรสเผ็ด