Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
บทที่ 9 การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
อายุ/พัฒนาการในวัยต่างๆ
เด็กทารก ปัสสาวะบ่อยครั้ง
เด็กวัยก่อนเรียนเริ่มควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
เด็กวัยเรียน ปัสสาวะ 6-8 ครั้งต่อวัน รดที่นอน
ผู้สูงอายุ ปัสสาวะบ่อยครั้งขึ้น Nocturia
น้้าและอาหาร
จ้านวนน้้าที่ร่างกายได้รับ
จ้านวนน้้าที่ร่างกายสูญเสีย
อาหารที่ร่างกายได้รับ (Food intake)อาหารที่มีความเค็มมาก (มีปริมาณโซเดียมสูง) ปัสสาวะจะออกน้อยลง
ยาที่ขับออกทางระบบปัสสาวะจะส่งผลให้สีของน้้าปัสสาวะเปลี่ยน
ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
ความเครียดและความวิตกกังวล กระตุ้น
ความเจ็บปวดมีผลยับยั้ง
สังคมและวัฒนธรรม
ลักษณะท่าทาง
ผู้ชายจะใช้ท่ายืน
ผู้ชายจะใช้ท่ายืน
กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ กระตุ้น
พยาธิสภาพ ท้องจะปัสสาวะบ่อย
การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
Anuria/Urinary suppression
ปัสสาวะน้อยกว่า 50มิลลิลิตรต่อวัน หรือไม่มีการปัสสาวะเลย
Oliguria
มีปัสสาวะน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ใน 24 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า 30 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
Polyuria หรือ Diuresis
ผลิตปัสสาวะออกมาจ้านวนมากกว่าปกติ (มากกว่า 2,500–3,000 มิลลิลิตรต่อวัน)
Nocturia
มากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป
มักพบในผู้สูงอายุชายที่มีต่อมลูกหมากโต
ปัสสาวะขัด (Dysuria)
สาเหตุ
อักเสบติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาว
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
การบาดเจ็บของท่อปัสสาวะ
ต่อมลูกหมากโต
อาการที่เกิดขึ้นชั่วคราวภายหลังจากการมีเพศสัมพันธ์
ถ่ายปัสสาวะบ่อยPollakiuria
ปัสสาวะรดที่นอน (Enuresis)
มีปัสสาวะไหลออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ ในเด็กที่มีอายุมากกว่า 5 ปีขึ้นไป
ปัสสาวะคั่ง (Urinary retention)
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ (Urinaryincontinence)
โดยสิ้นเชิง(True Incontinence) ไม่มีความรู้สึก
ไม่ทัน (Urge incontinence/ Urgency/ Overactive bladder)
ปัสสาวะเล็ด (Stress incontinence)
ปัสสาวะท้น (Overflow incontinence)
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดจากภาวะหรือโรคอื่น ๆ (FunctionalIncontinence)
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
น้้าตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria) (RBC>3cells/HPF)
โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)
(Bilirubinuriaหรือ Choluria)
พบ Conjugated bilirubinมีการอุดตันของทางเดินน้้าดี
พบUrobilirubin=เซลล์ตับถูกท้าลาย
ปัสสาวะมีสีด้าของฮีโมโกลบิน
ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria)
หลักการส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมให้ได้รับน้้าอย่างเพียงพอ
ผู้ใหญ่ควรได้รับน้้าสะอาดประมาณ 1,500-2,000มิลลิลิตร
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ รับน้้าเพิ่มวันละ2,000-3,000 มิลลิลิตร
โรคหัวใจวายหรือไตวาย จะต้องจ้ากัดน้้าให้น้อยลง
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ดื่มน้ำ8 -10 แก้ว
ปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง
ดื่มน้้า 2 แก้วก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์ ปัสสาวะทิ้งหลังมีSex
หลีกเลี่ยงการใส่กางเกงที่แน่นหรือคับเกินไป
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อท้างานอย่างเต็มที่
การท้าKegelexercise ขมิบ 300-400ครั้ง
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ ชมให้กำลังใจ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้้าได้ ใช้หม้อนอน (Bedpan)
วิธีการสวนปัสสาวะ
ชนิด
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling catheterization or Retained catheterization)
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (Intermittent catheterization)
สายสวนปัสสาวะ
หญิงใช้ขนาด 14-16 Fr
ชายใช้ขนาด 16-20 Fr.
เด็กใช้ขนาด 8-10 Fr.
สูงอายุใช้ขนาด 22-24 Fr.
ไม่ควรใช้ 0.9% NaCl :red_cross:
ขั้นตอนการใส่
บอก
ล้างมือ
กั้นม่าน
แขวนถุงรองรับปัสสาวะกับขอบเตียงให้อยู่ต่้ากว่ากระเพาะปัสสาวะ
จัดท่า
หญิง Dorsal recumbent position
ชายท่า Supine position
ทำความสะอาด
สอดสายสวน
2-3นิ้ว (เพศหญิง)
6-8 นิ้ว (เพศชาย)
จนกว่าน้ำปัสสาวะไหลให้ดันสายสวนเข้าไปให้ลึกอีกประมาณ ½-1นิ้ว(เพศหญิง)หรือเกือบสุดสาย (เพศชาย) :check:
ถ้ามีแรงต้านอย่าดันสายสวนเข้าไป :red_cross:
ขั้นตอนการถอด
ทำความสะอาด
ดูดน้้ากลั่นออกจนหมด
ค่อยๆ ดึง สายสวนออก
เช็ดบริเวณ Perineumให้แห้งสังเกตลักษณะ ปริมาณ ก่อนทิ้ง
บันทึก
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้้ามากๆ สังเกตผู้ป่วย
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่ถุงยางอนามัย
ต้องเปลี่ยนถุงยางอนามัยอย่างน้อย 24 ชั่วโมง และต้องท้าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้ง :check:
ใส่นาน ๆ มีโอกาสที่ผิวหนังบริเวณองคชาต จะบวม แดง ถลอก หรือมีสีเปลี่ยนไป :warning:
ดูแลให้ปัสสาวะระบายลงสู่ถุงรองรับปัสสาวะได้สะดวก :check:
ระวังไม่ให้ถุงยางบิดเป็นเกลียว :warning:
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
Clean mid-stream urine
ทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมาประมาณครึ่งภาชนะ หรือประมาณ 30-50 ml.
จากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
1)ใช้ Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะนานประมาณ 15–30 นาที
2)เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื อ
3)ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด
4)ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื อแทงที่สายสวนปัสสาวะทำความสะอาดฆ่าเชื อไว้แล้ว ดูดปัสสาวะออกมาประมาณ 10 มล.
การเก็บปัสสาวะ 24ชั่วโมง
เริ่มเก็บปัสสาวะเวลา 08.00น.
จนครบก้าหนด 24ชั่วโมง
งดโปรตีน คาเฟอีน ก่อนการเก็บปัสสาวะประมาณ 6 ชั่วโมง
กระบวนการพยาบาล
การประเมิน
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การวิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล ตัวอย่าง:มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การวางแผนการพยาบาล และ4. การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินอาการ V/S :check:
หลัก Aseptic technique :<3:
Force oral fluid มากกว่า 2,000-3,000มิลลิลิตรต่อวัน :check:
ท้าความสะอาดบริเวณฝีเย็บให้สะอาด วันละ 2 ครั ง เช้า-เย็น :check:
ระวังอย่าดึงสายสวน :warning:
หลีกเลี่ยงการใช้แป้งหรือโลชั่น* :red_cross:
อย่าปล่อยให้ปัสสาวะเต็มถุง :red_cross:
ส่งเสริมให้ปัสสาวะเป็นกรด :check:
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกขึ นเคลื่อนไหว :check:
ประเมินผลการพยาบาล มีการประเมินทุกครั้งตามเกณฑ์การประเมินผล