Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
1 ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
1.4 ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
1.5 สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factor)
1.3 ยา (Medication)
1.6 ลักษณะท่าทาง (Body position)
1.2 น้ำและอาหาร (Food and fluid)
1.7 กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Activity and Muscle tone)
1.1 อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ (Developmental growth)
1.8 พยาธิสภาพ (Pathologic conditions)
1.9 การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
4.1 ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
อย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว หรือประมาณ 1,500-2,000 มิลลิลิตร
4.2 ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
2) ฝึกถ่ายปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง
3) ดื่มน้ำ 2 แก้วก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์ และปัสสาวะทิ้งทันทีหลังจากมีเพศสัมพันธ์
4) อาบน้ำด้วยฝักบัวแทนอาบในอ่างอาบน้ำ
5) ใส่ชุดชั้นในที่ทำด้วยผ้าฝ้ายดีกว่าทำด้วยไนล่อน
1) ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว (แก้วละ 240 มิลลิลิตร)
6) หลีกเลี่ยงการใส่กางเกงที่แน่นหรือคับเกินไป
7) เพิ่มความเป็นกรดของปัสสาวะ
8) ใช้ Estrogen cream ตามแผนการรักษาของแพทย์
4.3 ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
4.5 สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
4.6 เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
4.4 การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
2) ช่วยให้ผู้ป่วยได้ถ่ายปัสสาวะในท่าที่สะดวกเป็นธรรมชาติ
3) การเปิดก๊อกน้ำให้ได้เห็น
1) จัดให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวในที่มิดชิดขณะถ่ายปัสสาวะ
4) การใช้ความร้อนช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
5) ให้เวลาในการขับถ่ายปัสสาวะ ไม่เร่งรัดผู้ป่วยเกินไป
6) ช่วยกดหน้าท้องเบาๆ เหนือบริเวณกระเพาะปัสสาวะจะช่วยให้ปัสสาวะสะดวก
4.7 การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้ำได้
การสวนปัสสาวะ
5.2 ชนิดของการสวนปัสสาวะ
1) การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (Intermittent catheterization)
2) การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling catheterization or retained catheterization)
5.3 อุปกรณ์
2) ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ (Sterile catheterization set)
3) สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้ เช่น KY-jelly เป็นตน้
4) น้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) และน้ำยาทำลายเชื้อ (Antiseptic solution)
5) กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (Sterile syringe) ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน
6) Transfer forceps
7) ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด (Sterile urine bag) 1 ใบ
8) โคมไฟ หรือไฟฉาย
9) พลาสเตอร์, เข็มกลัด, ผ้าปิดตา
10) สายสวนปัสสาวะ
1) ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด
5.1 วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
4) เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
5) เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
3) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
6) เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
2) เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
7) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
1) เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
5.4 วิธีการสวนปัสสาวะ
2) การถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้ (Removing Indwelling or Retention catheters)
1) การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling หรือ Retention catheter)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
8.3 การวางแผนการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล
5) ทำความสะอาดบริเวณฝีเย็บให้สะอาด วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
6) ใช้สบู่อ่อนและน้ำหรือน้ำยาทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
4) Force oral fluid มากกว่า 2,000-3,000 มิลลิลิตรต่อวัน ถ้าไม่มีข้อห้าม
7) รักษาระบบการระบายปัสสาวะให้เป็นระบบปิดอยู่เสมอ
8) อย่าปล่อยให้ปัสสาวะเต็มถุงรองรับ ควรเททิ้งอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
3) ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก Aseptic technique
9) ส่งเสริมให้ปัสสาวะเป็นกรด
2) ประเมินสัญญาณชีพ
1) ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะทั้งก่อนและ
10) การเปลี่ยนสายสวนปัสสาวะควรทำเมื่อจำเป็น
11) ดูแลให้ถุงรองรับปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าระดับกระเพาะปัสสาวะเสมอ
15) ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
12) ตรวจดูสายสวนและท่อระบายของถุงรองรับปัสสาวะเป็นระยะไม่ให้หักพับงอ
14) ถ้าเป็นไปได้ให้แยกห้องผู้ป่วยที่ติดเชื้อจากการสวนคาสายสวนปัสสาวะออกจาก
13) กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกขึ้นเคลื่อนไหวและออกกำลังกาย
17) รายงานแพทย์เมื่อพบความผิดปกติ
16) ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
8.4 ประเมินผลการพยาบาล
ภายหลังให้การพยาบาลควรมีการประเมินทุกครั้งตามเกณฑ์ การประเมินผล
8.2 การวินิจฉัยทางการพยาบาล
จากข้อมูลของกรณีตัวอย่างร่วมกับข้อมูลสนับสนุนที่ได้จาก การประเมินสามารถกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
8.1 การประเมิน
2) ตรวจร่างกายในระบบทางเดินปัสสาวะ
3) วิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) การซักประวัติ
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะได้
6.1 วัตถุประสงค์
2) ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
3) ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
1) เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง เนื่องจากเปียกปัสสาวะ บ่อย ๆ
4) ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
7 การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
7.2 วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
2) เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื้อ Sterile swab น้ำยาฆ่าเชื้อ
3) ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด เช็ดบริเวณที่จะเก็บปัสสาวะด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
1) ใช้ Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะที่ใต้รอยต่อระหว่างสายต่อของถุงกับสายสวนไว้นาน ประมาณ 15–30 นาที เพื่อให้มีปัสสาวะใหม่เก็บอยู่ก่อน
4) ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื้อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงตำแหน่งที่ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อไว้แล้ว ดูดปัสสาวะออกมาประมาณ 10 มล. ส่งตรวจเพาะเชื้อทันที
7.3 วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เป็นการเก็บปัสสาวะที่มีการรวบรวมไว้จนครบ 24 ชั่วโมงแล้ว ส่งตรวจ
เริ่มเก็บปัสสาวะเวลา 08.00 น. โดยให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะทิ้งก่อนเริ่มเก็บ และรวบรวม น้ำปัสสาวะที่เก็บได้หลัง 08.00 น. จนครบกำหนด 24 ชั่วโมง
7.1 วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
โดย ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำสะอาด
ล้างมือให้สะอาด และเช็ดให้แห้ง ให้ ปัสสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมาประมาณครึ่งภาชนะ หรือประมาณ 30-50 ml.
2 แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
2.1 แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
1) แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
(5) ลำปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
(6) ปัสสาวะประมาณ 4-6 ครั้งต่อวัน และปัสสาวะกลางวันบ่อยกว่ากลางคืน
(4) ตลอดการถ่ายปัสสาวะจะไม่มีอาการเจ็บปวด
(7) มักถ่ายปัสสาวะก่อนนอน ตอนเช้าหลังตื่นนอน ก่อนหรือหลังรับประทานอาหาร
(3) เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที
(8) การถ่ายปัสสาวะจะเว้นช่วงห่างประมาณ 2–4 ชั่วโมงในเวลากลางวัน และ 6-8 ชั่วโมง ในเวลากลางคืน
(2) กรณีอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันที ต้องสามารถกลั้นได้ และเมื่อจะ ปัสสาวะก็สามารถปัสสาวะได้ทันที
(9) จำนวนปัสสาวะประมาณ 250-400 มิลลิลิตรต่อครั้ง หรือไม่ควรน้อยกว่า 30 มิลลิลิตร ใน 1 ชั่วโมง (ในคนปกติทั่วไปร่างกายจะผลิตน้ำปัสสาวะในอัตรา 0.5-1 ml./kg./hr.)
(1) อยากถ่ายปัสสาวะเมื่อมีปริมาณปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ 100-400 มิลลิลิตร
(10) Residual urine ไม่ควรเกิน 50 มิลลิลิตร ในผู้ใหญ่ และไม่ควรเกิน 100 มิลลิลิตรในผู้สูงอายุ
2) ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
(3) สีเหลืองจางจนถึงสีเหลืองเข้ม สีเหลืองฟางข้าว หรือสีเหลืองอำพัน
(4) มีความเป็นกรดอ่อนๆ pH ประมาณ 4.6-8.0
(2) ลักษณะใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
(5) มีความถ่วงจำเพาะ (Specific gravity) ประมาณ 1.015-1.025
(1) ปริมาณปัสสาวะปกติในผู้ใหญ่ ประมาณวันละ 800–1,600 มิลลิลิตร
(6) เมื่อตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Microscopic examination) ไม่พบ Casts, Bacteria, Albumin หรือน้ำตาล ไม่พบเม็ดเลือดแดง
(7) ปัสสาวะใหม่มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆ
2.2 การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
2) ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (Oliguria)
3) ปัสสาวะมากกว่าปกติ (Polyuria หรือ Diuresis)
1) ไม่มีปัสสาวะ (Anuria/Urinary suppression)
4) ปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia)
7) ปัสสาวะรดที่นอน (Enuresis)
5) ปัสสาวะขัด ปัสสาวะลำบาก (Dysuria)
8) ปัสสาวะคั่ง (Urinary retention)
6) ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย (Pollakiuria)
9) กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือกลั้นปัสสาวะไม่ได้ (Urinary incontinence)
3 ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
3.3 โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)
3.4 คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
3.2 น้ำตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
3.5 ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน (Bilirubinuria หรือ Choluria)
3.1 ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
3.6 ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria)
3.7 ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
3.8 นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
3.9 ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria)