Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
1.ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
1อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่างๆ(Developmental growth)
2 น้ำและอาหาร
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ
จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสีย
อาหารที่ร่างกายได้รับ
3 ยา
4 ด้านจิตสังคม
5 สังคมและวัฒนธรรม
6 ลักษณะท่าทาง
7 กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การออกกำลังกายสม่ำเสมอ
สตรีในภาวะหมดประจำเดือน
ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้เป็นเวลานาน
ผู้ที่นอนอยู่บนเตียงนาน ๆ
8 พยาธิสภาพ
9 การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ
ความเครียดและความวิตกกังวล
การตรวจวินิจฉัยในระบบทางเดินปัสสาวะ
การฉีดยาชาที่ไขสันหลัง
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
ปัสสาวะประมาณ 4-6 ครั้งต่อวัน
ถ่ายปัสสาวะก่อนนอน ตอนเช้า ก่อนหรือหลังรับประทานอาหาร
ลำปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
เว้นช่วงห่างประมาณ 2–4 ชั่วโมงในเวลากลางวัน
ไม่มีอาการเจ็บปวด
ประมาณ 250-400 มิลลิลิตรต่อครั้ง
ปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที
ไม่ควรเกิน 50 มิลลิลิตร ในผู้ใหญ่
ปริมาณปัสสาวะะ 100-400 มิลลิลิตร
ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
ผู้ใหญ่ ประมาณวันละ 800–1,600 มิลลิลิตร
ใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
สีเหลืองจางจนถึงสีเหลืองเข้ม
กรดอ่อนๆ pH ประมาณ 4.6-8.0
มีความถ่วงจำเพาะ
ไม่พบ Casts,
Bacteria, Albumin หรือน้ำตาล
มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆ
การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
5) ปัสสาวะขัด ปัสสาวะลำบาก (Dysuria)
6) ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย (Pollakiuria)
4) ปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia)
7) ปัสสาวะรดที่นอน (Enuresis)
3) ปัสสาวะมากกว่าปกติ (Polyuria หรือ Diuresis)
8) ปัสสาวะคั่ง (Urinary retention)
2) ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (Oliguria)
9) กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Urinary incontinence)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่โดยสิ้นเชิง
กลั้นปัสสาวะไม่ทัน
ปัสสาวะเล็ด
ปัสสาวะท้น
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดจากภาวะหรือโรคอื่น ๆ
1) ไม่มีปัสสาวะ (Anuria/Urinary suppression)
3.ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
น้ำตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)
คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน (Bilirubinuria หรือ Choluria)
ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria)
ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria)
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
1,500-2,000 มิลลิลิตร
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ดื่มน้ำ 2 แก้วก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์ุ
อาบน้ำด้วยฝักบัว
ถ่ายปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-4 ชั่วโมง
ใส่ชุดชั้นใน
ดื่มน้ำ
เพิ่มความเป็นกรดของปัสสาวะ
ใช้ Estrogen cream
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้ำได
การสวนปัสสาวะ
วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
4) เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
5) เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ
3) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะ
6) เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
2) เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
7) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออก
1) เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออก
ชนิดของการสวนปัสสาวะ
1) การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (Intermittent catheterization)
2) การสวนคาสายสวนปัสสาวะ( Indwelling catheterization or retained
catheterization)
อุปกรณ์
9) พลาสเตอร์, เข็มกลัด, ผ้าปิดตา
10) สายสวนปัสสาวะ
8) โคมไฟ หรือไฟฉาย
7) ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อ
6) Transfer forceps
5) กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ
4) น้ำกลั่นปลอดเชื้อ
3) สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้
2) ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ
1) ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด
ไม่ควรใช้ 0.9% NaCl
วิธีการสวนปัสสาวะ
ผู้หญิงจัดท่า Dorsal recumbent position
สอดสายสวนปัสสาวะ 2-3 นิ้ว
ผู้ชายจัดท่า Supine position
สอดสายสวนปัสสาวะ 6-8 นิ้ว
มีแรงต้านขณะที่สายสวนผ่านเข้า Prostatic sphincter อย่าดันสายสวนเข้าไป
หลักการพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ (Condom catheter)
วัตถุประสงค์
2) ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
3) ป้องกันการติดเชื้อ
1) เพื่อรักษาความสะอาด
4) ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
สังเกตดูพบว่าหนังหุ้มองคชาตมีรอยถลอก บวม แดง หรือมีสีเปลี่ยนไป
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
1 วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมา
30-50 ml.
ปัสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย
ล้างมือ
ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ุ
2 วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
4) ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื้อแทงที่สายสวนปัสสาวะ
3) ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด
2) เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื้อ
1) ใช้Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะ
3 วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เก็บปัสสาวะที่มีการรวบรวมไว้จนครบ 24 ชั่วโมงส่งตรวจ
ควรแนะนำให้งดโปรตีน คาเฟอีนดื่ม น้ำมากๆ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
4 ประเมินผลการพยาบาล
3 การวางแผนการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล
1 การประเมิน
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
วิเคราะห์ผลการตรวจ
2 การวินิจฉัยทางการพยาบาล