Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทยอายุ 50 ปี, อาการ, ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค, :red_cross:, :red…
-
-
-
:red_cross:
-
- ประเมินสัญญาณของการติดเชื้อ คือ มีไข้สูง ปวด บวม แดง ร้อน, ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ WBC, Neutrophils, Lymphocytesสูง
- ล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังให้การพยาบาลกับผู้ป่วยหรือการสัมผัสกับสารคัดหลั่งผู้ป่วยและให้การพยาบาลโดยใช้หลัก Aseptic Technique
- ดูแลให้ได้รับยา Metronidazole 500 mg ทาง vein ทุกๆ 8 ชั่วโมง และ Ceftriaxone 2 gm IV ODตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- สังเกตอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย สารคัดหลั่งใน Radivac drain เพิ่มมากขึ้น รู้สึกปวด บวม แดง ร้อนบริเวณแผลผ่าตัด หรือแผลมี discharge ซึม
- ระวังไม่ให้แผลโดนน้ำ เพื่อป้องกันการฆ่าเชื้อโรคเข้าสู่แผลผ่าตัดถ้าแผลเปียกน้ำให้ทำแผลใหม่ให้แห้งสะอาดทันที
- ดูแลให้ Radivac drain เป็น negative pressure เพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับของสารคัดหลั่งเข้าสู่แผลซึ่งทำให้เกิดการติดเชื้อได้ และดูแลไม่ให้สายเลื่อนหลุดและดูแลโดยการ milking สายเพื่อป้องกันการเกิดคราบเลือดอุดตันภายในสายและทำให้ content ระบายออกมาได้ดี
- บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงโดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย และบันทึกปริมาณสารคัดหลั่งที่ออกมาจาก Radivac drain
- ดูแลทำความสะอาดบาดแผล Dry dressing wound O.D. เพื่อป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่บาดแผล ป้องกันการติดเชื้อ
:red_cross:
-
- ประเมินสภาวะการขาดอาหาร น้ำหนักลด หรือต่ำกว่าเกณฑ์ปกติตามอายุความ สูงและโครงสร้าง อาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย ปากอักเสบ เป็นแผล เปลือกตาซีด ค่า Hct, Hb, ระดับอัลบูมิน Total Protien และ lymphocytes ที่ต่ำ
- ประเมินปัจจัยส่งเสริมการเกิดภาวะขาดสารอาหาร จากการสังเกตและบันทึก การ รับประทานอาหาร จํานวน ชนิด พลังงานจากอาหาร ความสามารถในการเคี้ยวอาหาร การกลืน และการช่วยเหลือตนเองในการรับประทานอาหาร การรับประทานยาหลายชนิด โรคที่มี ผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ ภาวะทางจิตสังคม เศรษฐกิจ และความเชื่อในการรับประทาน หรือไม่รับประทานอาหารบางอย่าง
- ส่งเสริมให้ร่างกายได้รับอาหารพอเพียง ให้คําปรึกษาในการช่วยผู้ป่วยเลือกอาหาร วิตามินและแร่ธาตุให้มีปริมาณ คุณภาพ ตรงกับความต้องการ ความชอบ สามารถปรุงอาหารที่ เหมาะกับโรคมาให้รับประทานได้การรักษาโรคฟันและเงือก รักษาความสะอาด ปากและฟัน ก่อน-หลังอาหาร จัดให้ได้พักก่อนมื้ออาหาร จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ผ่อนคลายและสดชื่น เพิ่ม การเคลื่อนไหวของร่างกายระหว่างวัน
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่เป็นน้ำหรืออาหารเหลวก่อนอาหารหลัก ซึ่งจะช่วย กระตุ้นการเคลื่อนไหวของลําไส้ทําให้รับประทานอาหารได้มากขึ้น โดยให้อาหารอ่อนที่มีโปรตีนคุณภาพสูง พลังงานสูง เช่น ปลา ไข่และนม เป็นต้น ให้จํานวนน้อย บ่อยครั้ง ให้ ได้อาหารตามแผนการรักษาได้แก่ Soft diet 3 มื้อ หลีกเลี่ยงอาหาร หวาน มัน และมีกลิ่นเครื่องเทศ สังเกตมื้ออาหารที่รับประทานได้มาก ให้จัดอาหารมื้อนั้นให้มี ปริมาณมากขึ้น
- สังเกตการเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรภาพและภาวะแทรกซ้อนจากภาวะขาด สารอาหาร เช่น การติดเชื้อในระบบหายใจ แผลหายช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง และจิตใจหดหู่ เศร้า ซึม เป็นต้น
- ประเมินและติดตามน้ำหนักตัว ชั่งน้ำหนักสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ในภาวะที่ใกล้เคียง กัน และติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น Hct, Hb, ระดับอัลบูมิน Total Protien lymphocytes และภาวะไม่สมดุลของ อิเล็กโทรไลท์ในร่างกาย
- ให้ 5% DW/2 1000ml vein 100 ml/hr ตามแผนการรักษาเพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ และมีความสมดุลของ Electrolyte ในร่างกาย
- ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Total Protien 6.6 - 8.7 g/dl
Albumin 3.5 - 5.2 g/dl
:red_cross:
-
- ประเมิน Pain score เพื่อประเมินระดับความเจ็บปวดของบาดแผล
- จัดท่านอน Fowler's Position เพื่อลดการดึงรั้งของผิวหนังบริเวณหน้าท้อง บรรเทาอาการปวดแผลจากการดึงรั้งของแผล
- แนะนำให้ใช้มือประคองแผลผ่าตัดในขณะเคลื่อนไหวร่างกายพลิกตะแคงตัวหรือเวลาไอจามเพื่อลดการสั่นสะเทือนของแผลให้น้อยลงลดความเจ็บปวดในขณะเคลื่อนไหวร่างกายได้
- แนะนำการเปลี่ยนท่าที่ถูกต้องโดยใช้วิธีการตะแคงตัวแล้วใช้มือยันที่นอนในการเปลี่ยนท่าจากท่านอนเป็นนั่งหรือจากนั่งเป็นนอนจะช่วยลดการเกร็งกล้ามเนื้อและการดึงของแผลผ่าตัดได้
- สอนให้ผู้ป่วยบรรเทาอาการปวดด้วยการทำ Deep breathing exercise คือหายใจเข้าทางจมูกกลั้นลมหายใจไว้ 2-3 วินาทีแล้วค่อยๆผ่อนลมหายใจออกช้าๆทางปาก
- พูดคุยกับผู้ป่วยเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ แนะนำวิธีการเบี่ยงเบนความปวดให้กับผู้ป่วย เช่น การหากิจกรรมที่ชอบเพื่อบรรเทาอาการปวด เช่น ดูหนัง ฟังเพลง อ่านหนังสือ เป็นต้น
- ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด Morphine 5 mg IM prn ทุกๆ 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการปวดแผลผ่าตัดมากขึ้น
- ทำความสะอาดบาดแผลด้วยหลัก Aseptic Technique และทำด้วยความนุ่มนวล เพื่อลดอาการปวดของบาดแผล
- บันทึกสัญญาณชีพจรทุก 4 ชั่วโมง เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพจรที่เกิดจากอาการปวด เช่น อุณหภูมิที่สูงขึ้น อัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจที่สูงขึ้น
-
CT SCAN DATE: 23/7/2020.
NONCONTRAST MDCT SCAN OF THE CHEST
- Mark dilation of visualized transverse colon, could be partial colonic obstruction from CA sigmoid colon.
-
-
-
-
-
-
-