Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ (Developmental growth)
น้ำและอาหาร (Food and fluid)
ยา (Medication)
ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factor)
ลักษณะท่าทาง (Body position)
กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Activity and Muscle tone)
พยาธิสภาพ (Pathologic conditions)
การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ (Surgical and diagnostic procedure)
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
อยากถ่ายปัสสาวะเมื่อมีปริมาณปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ 100-400 มิลลิลิตร
เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที
ตลอดการถ่ายปัสสาวะจะไม่มีอาการเจ็บปวด
ปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
ปัสสาวะประมาณ 4-6 ครั้งต่อวัน และปัสสาวะกลางวันบ่อยกว่ากลางคืน
มักถ่ายปัสสาวะก่อนนอน ตอนเช้าหลังตื่นนอน ก่อนหรือหลังรับประทานอาหาร
การถ่ายปัสสาวะจะเว้นช่วงห่างประมาณ 2-4 ชั่วโมงในเวลากลางวัน และ 6-8 ชั่วโมง ในเวลากลางคืน
Residual urine ไม่ควรเกิน 50 มิลลิลิตร ในผู้ใหญ่ และไม่ควรเกิน 100 มิลลิลิตรในผู้สูงอายุ
ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
มีความเป็นกรดอ่อนๆ pH ประมาณ 4.6-8.0
สีเหลืองจางจนถึงสีเหลืองเข้ม สีเหลืองฟางข้าว หรือสีเหลืองอําพัน
ลักษณะใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
ปัสสาวะใหม่มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆ ถ้าตั้งทิ้งไว้นานๆ จะได้กลิ่นแอมโมเนียที่แรง
ปริมาณปัสสาวะปกติในผู้ใหญ่ ประมาณวันละ 800-1,600 มิลลิลิตร
การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะขัด ปัสสาวะลําบาก
ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย
ปัสสาวะตอนกลางคืน
ปัสสาวะรดที่นอน
ปัสสาวะมากกว่าปกติ
ปัสสาวะคั่ง
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือกลั้นปัสสาวะไม่ได้ (Urinary incontinence)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่โดยสิ้นเชิง (True Incontinence) ปัสสาวะจะไหลตลอดเวลา
กลั้นปัสสาวะไม่ทัน หรือ ภาวะกระเพาะปัสสาวะไวเกิน
ปัสสาวะเล็ด (Stress incontinence) คือการที่มีปัสสาวะไหลซึมออกมาโดยไม่ตั้งใจ
ปัสสาวะท้น (Overflow incontinence)
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดจากภาวะหรือโรคอื่น ๆ (Functional Incontinence)
ไม่มีปัสสาวะ
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ไขมันในปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นเลือด
น้ำตาลในปัสสาวะ
โปรตีนในปัสสาวะ
คีโตนในปัสสาวะ
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน
ปัสสาวะมีสีดําของฮีโมโกลบิน
ปัสสาวะเป็นหนอง
นิ่วในปัสสาวะ
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทํางานอย่างเต็มที่
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะ
วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
เพื่อตรวจสอบจํานวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทําหัตถการต่างๆ
พื่อตรวจสอบจํานวนน้ําปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
ชนิดของการสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (Intermittent catheterization)
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling catheterization or retained Catheterization)
การสวนคาสายปัสสาวะ
อุปกรณ์
ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ (Sterile Catheterization set)
สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้ เช่น KY-jelly เป็นต้น
น้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) และน้ำยาทําลายเชื้อ (Antiseptic solution)
กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (Sterile syringe) ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน
ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด (Sterile urine bag) 1 ใบ
โคมไฟ หรือไฟฉาย
ชุดทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด หม้อนอน ถุงมือสะอาด 1 คู่ ถุงกระดาษหรือ ถุงพลาสติกสําหรับทิ้งสําลีใช้แล้ว
พลาสเตอร์, เข็มกลัด, ผ้าปิดตา
สายสวนปัสสาวะ การเลือกใช้สายสวนปัสสาวะควรพิจารณาวัตถุประสงค์ของการใช้งาน และขนาดของสายสวนปัสสาวะ
วิธีการสวนปัสสาวะ
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling หรือ Retention catheter)
ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาด
ใช้ Transfer forceps จัดวางเครื่องใช้เรียงไว้ตามลําดับการใช้อยู่ในบริเวณ
จัดท่า ปิดตา คลุมผ้าผู้ป่วย
ตรวจสอบประสิทธิภาพของบอลลูนที่ปลาย Foley catheter โดยใช้กระบอก ฉีดยาดูดน้ำกลั่นแล้วฉีดเข้าตรงปลายหาง
แขวนถุงรองรับปัสสาวะกับขอบเตียงให้อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
กันม่าน และจัดให้มีแสงสว่างเพียงพอ
ล้างมือให้สะอาด เตรียมของใช้ ไปที่เตียงผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยอธิบายให้เข้าใจถึงความจําเป็นของการสวนปัสสาวะ วิธีทําอย่างคร่าว ๆ บอกวิธีปฏิบัติตัวของผู้ป่วย และประโยชน์ของการสวนปัสสาวะ
การถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้ (Removing Indwelling or Retention catheters)
เตรียมเครื่องใช้
บอกผู้ป่วย ใส่ถุงมือทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และบริเวณ Urethra meatus ให้สะอาด
บอกผู้ป่วยให้หายใจเข้าออกลึกๆ เพื่อให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย ขณะที่ค่อย ๆ ดึงเอาสาย สวนออกแล้วใส่ในถุงที่เตรียมไว้
ใช้กระดาษชําระเช็ดบริเวณ Perineum ให้แห้ง
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆ สังเกตความผิดปกติของผู้ป่วย
ต่อ Syringe เข้ากับหางของสายสวนปัสสาวะที่ใช้สําหรับใส่น้ำากลั่นแล้วดูดน้ํากลั่น ออกจนหมด
หลักการพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ (Condom catheter)
วัตถุประสงค์
เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง เนื่องจากเปียกปัสสาวะ บ่อย ๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
ผู้ป่วยที่ใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะเป็นเวลานานมีโอกาสที่ผิวหนังบริเวณองคชาต จะบวม แดง และถลอก
ในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ที่บ้าน ไม่สามารถหาซื้อถุงยางอนามัยได้ ญาติอาจใช้ถุงพลาสติกใช้แทนให้ พอเหมาะ
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
ให้ ปัสสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะในช่วงถัดมาประมาณครึ่งภาชนะ หรือประมาณ 30-50 ml. โดยห้ามสัมผัสด้านในของภาชนะ แล้วปัสสาวะช่วงสุดท้ายทิ้งไป
วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื้อ Sterile Swab น้ำยาฆ่าเชื้อ
ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด เช็ดบริเวณที่จะเก็บปัสสาวะด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
ใช้ Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะที่ใต้รอยต่อระหว่างสายต่อของถุงกับสายสวนไว้นาน ประมาณ 15-30 นาที เพื่อให้มีปัสสาวะใหม่เก็บอยู่ก่อน
ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื้อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงตําแหน่งที่ทําความสะอาด ฆ่าเชื้อไว้แล้ว ดูดปัสสาวะออกมา.
วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เป็นการเก็บปัสสาวะที่มีการรวบรวมไว้จนครบ 24 ชั่วโมงแล้ว ส่งตรวจ
แนะนําให้งดโปรตีน คาเฟอีน ก่อนการเก็บปัสสาวะประมาณ 6 ชั่วโมง และให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ ก่อนและระหว่างการเก็บ (ถ้าไม่มีข้อห้าม)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
การประเมิน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ประเมินผลการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล