Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 การพยาบาลอาชีวอนามัย - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
การพยาบาลอาชีวอนามัย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานความหมายของงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ความหมายของงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัย(Occupational health) มาจากคำว่า อาชีวะ + อนามัย
อาชีวะ = อาชีพ
อนามัย หรือ สุขภาพ = สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคมอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ขอบเขตของการดำเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มี 3 ประการ
การป้องกันและควบคุมโรคอันเนื่องมาจากการประกอบอาชีพ
การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุอันเนื่องมาจากการประกอบอาชีพ
การควบคุมป้องกันมลพิษในสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมจากการทำงานที่คุกคามสุขภาพ
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน(Working environment) หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวในขณะทำงาน อาจจะเป็นคน เช่น ผู้ร่วมงาน นายจ้าง ลูกจ้าง
การยศาสตร์ หรือ เออร์กอนอมิกส์ (Ergonomics)
การยศาสตร์ หรือ เออร์กอนอมิกส์ หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสภาพแวดล้อมในการทำงานหรือสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยในการทำงาน
โรคจากการประกอบอาชีพ
โรคจากการประกอบอาชีพตามประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
ปัจจัยทางกายภาพ
ปัจจัยทางชีวภาพ
ปัจจัยทางเคมี
ปัจจัยทางจิตวิทยาสังคมและเออร์กอนอมิกส์
หลักการป้องกันและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ
หลักการทดแทน (Substitution)
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) )
การกำจัดมูลฝอย ของเสีย หรือกากอุตสาหกรรม (Waste Disposal)
การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต (Changing the process)
การแยกออกหรือใช้ระบบปิด (Isolation or Enclosure)
วิธีการทำให้เปียก (Wet method)
การระบายอากาศเฉพาะแห่ง (Local exhaust ventilation)
การระบายอากาศทั่วไป/การทำให้เจือจาง (General or Dilution ventilation)
วิทยาการระบาดในงานอาชีวอนามัย
ปัจจัยของการเกิดโรคและการบาดเจ็บ
การเฝ้าระวังโรคและปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพ
การสอบสวนโรคและปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพ
บทบาทของพยาบาลอาชีวอนามัย
การพยาบาลอาชีวอนามัย(Occupational health nursing) หมายถึงการพยาบาลเฉพาะทาง ที่มุ่งเน้นให้บริการแก่บุคคลวัยแรงงานทุกอาชีพในสถานพยาบาลและแหล่งประกอบอาชีพ
กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง กับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
กฎหมายมีความสำคัญต่องานอาชีวอนามัย เพราะเป็นการหามาตรการ ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อนำมาใช้ควบคุมสถานประกอบการให้ปฏิบัติตาม เพื่อเป็นผลดีแก่เจ้าของสถานประกอบการและลูกจ้าง
การสำรวจสถานประกอบการ
เพื่อค้นหาศักยภาพเชิงอันตรายและอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และ สังเกตการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน
เพื่อเก็บข้อมูลการได้รับสัมผัสสิ่งอันตราย โดยเทียบกับค่ามาตรฐานต่างๆ
เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนดำเนินการ/ประเมินความสำเร็จของนโยบายหรือโครงการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ และความปลอดภัยในการทำงาน
นางสาว สุนิสา บุญญานุสนธิ์ รหัส611410013-3 :red_flag: