Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ (Developmental growth)
ผู้สูงอายุ
วัยเด็ก
น้ําและอาหาร (Food and fluid)
จํานวนน้ําที่ร่างกายสูญเสีย (Loss of body fluid)
อาหารที่ร่างกายได้รับ (Food intake)
จํานวนน้ําที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
ยา (Medication)
ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factor)
ลักษณะท่าทาง (Body position)
กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Activity and Muscle tone)
พยาธิสภาพ (Pathologic conditions)
การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ
(Surgical and diagnostic procedure)
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
เวลาที่ใช้ในการถ่ายปัสสาวะแต่ละครั้งมักไม่เกิน 30 วินาที
ตลอดการถ่ายปัสสาวะจะไม่มีอาการเจ็บปวด
ลําปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
ปัสสาวะประมาณ 4-6 ครั้งต่อวัน และปัสสาวะกลางวันบ่อยกว่ากลางคืน
มักถ่ายปัสสาวะก่อนนอน ตอนเช้าหลังตื่นนอน ก่อนหรือหลังรับประทานอาหาร
การถ่ายปัสสาวะ เว้นช่วงห่างประมาณ 2–4 ชั่วโมงในเวลากลางวัน และ 6-8 ชั่วโมง ในเวลากลางคืน
จำนวนปัสสาประมาณ 250 - 400 มิลลิลิตรต่อครั้ง หรือไม่น้อยกว่า 30 มิลลิลิตรใน 1 ชั่วโมง
Residual urine ไม่ควรเกิน 50 มิลลิลิตร ในผู้ใหญ่ และไม่ควรเกิน 100 มิลลิลิตรในผู้สูงอายุ
กรณีภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันที ต้องสามารถกลั้นได้ และสามารถปัสสาวะได้ทันที
อยากถ่ายปัสสาวะเมื่อมีปริมาณปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะ 100-400
ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
ลักษณะใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
สีเหลืองจางจนถึงสีเหลืองเข้ม สีเหลืองฟางข้าว หรือสีเหลืองอําพัน
ปริมาณปัสสาวะปกติในผู้ใหญ่ ประมาณวันละ 800–1,600 มิลลิลิตร
มีความเป็นกรดอ่อนๆ pH ประมาณ 4.6-8.0
มีความถ่วงจําเพาะ (Specific gravity) ประมาณ 1.015-1.025
เมื่อตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ ไม่พบ Casts,Bacteria, Albumin หรือน้ําตาล ไม่พบเม็ดเลือดแดง
ปัสสาวะใหม่มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆ ถ้าตั้งทิ้งไว้นานๆ จะได้กลิ่นแอมโมเนียที่แรง
การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะตอนกลางคืน (Nocturia)
ปัสสาวะขัดปัสสาวะลําบาก(Dysuria)
ปัสสาวะมากกว่าปกติ(PolyuriaหรือDiuresis)
ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริบกะปรอย (Pollakiuria)
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ(Oliguria)
ปัสสาวะรดที่นอน(Enuresis)
ไม่มีปัสสาวะ(Anuria/Urinarysuppression)
ปัสสาวะคั่ง(Urinaryretention)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่หรือกลั้นปัสสาวะไม่ได้(Urinaryincontinence)
กลั้นปัสสาวะไม่ทัน หรือ ภาวะกระเพาะปัสสาวะไวเกิน
(Urge incontinence/ Urgency/ Overactive bladder)
ปัสสาวะเล็ด (Stress incontinence)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่โดยสิ้นเชิง (True Incontinence)
ปัสสาวะท้น (Overflow incontinence)
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดจากภาวะหรือโรคอื่น ๆ (Functional Incontinence)
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ําตาลของบิลิรูบิน (Bilirubinuria หรือ Choluria)
โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)
ปัสสาวะมีสีดําของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria)
น้ําตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria)
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทํางานอย่างเต็มที่
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีท่ีไม่สามารถไปห้องน้ําได้
ส่งเสริมให้ได้รับน้ําอย่างเพียงพอ
การสวนปัสสาวะ
วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยท่ีต้องทําหัตถการต่างๆ
เพื่อตรวจสอบจํานวนน้ําปัสสาวะท่ีเหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อเก็บน้ําปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
เพื่อตรวจสอบจํานวนน้ําปัสสาวะท่ีขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
เพื่อระบายเอาน้ําปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
ชนิดของการสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว(Intermittentcatheterization)
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ
(Indwelling catheterization or retained catheterization)
อุปกรณ์
น้ํากลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) และน้ํายาทําลายเชื้อ (Antiseptic solution)
กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (Sterile syringe) ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน
สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ําได้
Transfer forceps
ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ (Sterile catheterization set)
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1 ผืน
ชามกลมใหญ่ 1 ใบ
ถ้วย 2 ใบ สําหรับใส่สําลี 6-8 ก้อน และผ้าก๊อส 1-2 ผืน
Forceps 1-2 อัน
ถุงมือปลอดเชื้อ (บางโรงพยาบาลอาจแยกออกจากชุดสวนปัสสาวะ)
ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด (Sterile urine bag) 1 ใบ
ชุดทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด หม้อนอน ถุงมือสะอาด 1 คู่
ถุงกระดาษหรือถุงพลาสติกสําหรับทิ้งสำลีใช้แล้ว
โคมไฟ หรือไฟฉาย
พลาสเตอร์, เข็มกลัด, ผ้าปิดตา
สายสวนปัสสาวะ
วิธีการสวนปัสสาวะ
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling หรือ Retention catheter)
การถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้ (Removing Indwelling or Retention catheters)
หลักการพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ (Condom catheter)
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง
ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
การประเมิน
วิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจร่างกายในระบบทางเดินปัสสาวะ
การซักประวัติ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ประเมินผลการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล