Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
บทที่ 9 การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
ยา(Medication)
ด้านจิตสังคม(Psychosocial factors)
สังคมและวัฒนธรรม(Sociocultural factor)
ลักษณะท่าทาง (Body position)
ผู้ชายมีปัญหาในการขับถ่ายในท่านอนราบ
ผู้หญิงจะใช้ท่านั่ง จึงต้องใช้หม้อนอนบนเตียงราบ
กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
(Activity and Muscle tone)
ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้เป็นเวลานาน
กระเพาะปัสสาวะตึงตัวน้อยลง เนื่องจากปัสสาวะไหลออกตลอดเวลา
สตรีในภาวะหมดประจำเดือน
ฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง ทำให้กระเพาะปัสสาวะตึงตัวลดลง
การออกกำลังกายเสมอ
มีการผลิตปัสสาวะมากขึ้นและถ่ายบ่อยขึ้น
ผู้ที่นอนอยู่บนเตียงนานๆไม่ได้เคลื่อนไหว
การตึงตัวของกระเพาะปัสสาะ/กล้ามเนื้อหูรุดลดลง
น้ำและอาหาร
(Food and Fluid)
จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสีย (Loss of body fluid)
อาหารที่ร่างกายได้รับ (Food intake)
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่างๆ (Surgical and diagnostic procedure)
การตรวจวินิจฉัยในระบบทางเดินปัสสาวะ
การฉีดยาชาที่ไขสันหลัง
ส่งผลให้ผู้ป่วยรู้สึกไม่อยากปัสสาวะ
ความเครียดและความวิตกกังวลในการรักษา
มีการหลั่งADH มีการเพิ่ม Aldosterone
การคั่งของโซเดียมและน้ำ
อายุหรือพัฒนาการในวัยต่างๆ (Developmental growth)
วัยเด็ก
กระเพาะปัสสาวะมีความจุน้อยจึงมีการขับถ่ายบ่อยครั้ง
เด็กวัยก่อนเรียนเริ่มควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้เอง
เด็กวัยเรียนระบบขับถ่ายปัสสาวะจะเจริญเติบที่ ปัสสาวะวันละ6-8ครั้ง
ผู้สูงอายุ
เมื่อมีน้ำปัสสาวะเพียง150-200มิลลิตร
กระเพาะปัสสาวะจะบีบตัวทำให้รู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะ/บ่อยครั้ง
กล้ามเนื้อปัสสาวะบีบตัวลดลง ทำให้ปัสสาวะคั่ง ติดเชื้อง่ายขึ้น
พยาธิสภาพ(Pathologic conditions)
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
ลำปัสสาวะช่วงแรกจะพุ่งแรงและใหญ่กว่าตอนสุด
ปัสสาวะประมาณ4-6ครั้งต่อวัน
ตลอดการถ่ายปัสสาวะไม่มีอาการเจ็บปวด
ปัสสาวะก่อนนอน ตอนเช้าหลังตื่นนอน ก่อน/หลังทานอาหาร
ถ่ายปัสสาวะไม่ควรเกิน30นาทีต่อครั้ง
การถ่ายปัสสาวะจะเว้นช่วงห่าง2-4ชั่วโมงในกลางวัน/6-8ชั่วโมงในกลางคืน
กรณีอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันทีต้องกลั้นได้
จำนวนปัสสาวะประมาณ250-400mlต่อครั้ง
อยากถ่ายปัสสาวะเมื่อมีปริมาณ
ปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ100-400ml
Residual urineไม่ควรเกิน50mlในผู้ใหญ่/ไม่เกิน100mlในผู้สูงอายุ
ลักษณะของปัสสาวะที่ปกติ
มีความเป็นกรดอ่อนๆpH 4.6-8.0
มีความถ่วงจำเพาะประมาณ1.015-1.025
สีเหลืองจางจน-สีเหลืองเข้ม /ฟางข้าว/อำพัน
ตรวจต้องไม่พบCasta,Bacteria,Albumin,น้ำตาล,ไม่พบเม็ดเลือดแดง
ลักษณะใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน
ปัสสาวะใหม่มีกลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆ
ปริมาณประมาณวันละ800-1600ml
การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะขัด ปัสสาวะลำบาก(Dysuria)
ถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือกะปริยกะปรอย(Pollakiuria)
ปัสสาวะตอนกลางคืน(Nocturia)
ปัสสาวะรดที่นอน(Enuresis)
ปัสสาวะมากกว่าปกติ(Polyuria)
ปัสสาวะคั่ง(Urinary retention)
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ(Oliguria)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่/ปัสสาวะไม่ได้ (Urinary incontinence)
ปัสสาวะเล็ด(Stress incontinence)
ปัสสาวะท้น(overflow incontinence)
กลั้นปัสสาวะไม่ทัน/ภาวะกระเพาะปัสสาวะไวเกิน
(Urge incontinenece)
ภาวะปัสสาวะไม่อยู่ที่เกิดจากภาวะหรือโรคอื่นๆ
(Functional incontinence)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่โดยสิ้นเชิง (True Incontinence)
ไม่มีปัสสาวะ(Anuria)
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน(Biliruria/Choluria)
ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน
(Hemoglobinuria)
คีโตนในปัสสาวะ(Ketonuria)
ปัสสาวะเป็นหนอง(Pyuria)
โปรตีนในปัสสาวะ(Proteinuria/Albuminuria)
นิ่วในปัสสาวะ(Calculi)
น้ำตาลในปัสสาวะ(Glycosuria)
ไขมันในปัสสาวะ(Chyluria)
ปัสสาวะเป็นเลือด(Hematuria)
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะกรณีปัสสาวะไม่ออก
การเปิดก๊อกน้ำให้ได้เห็น/ได้ยินเสียงน้ำไหลจะช่วยด้านอารมณ์
การใช้ความร้อนช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
ช่วยให้ผู้ป่วยได้ถ่ายปัสสาวะในท่าที่สะดวก
ให้เวลาในการขับถ่ายปัสสาวะ ไม่เร่งผู้ป่วย
จัดให้ผุ้ป่วยอยู่คนเดียวในที่มิดชิด
ช่วยกดหน้าท้องเบาๆเหนือบริเวณกระเพาะปัสสาวะจะช่วยให้ปัสสาวะสะดวก
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
อาบน้ำด้วยฝักบัวแทน หลีกเลี่ยงใช้สบู่ที่แรง
ใส่ชั้นในที่ทำด้วยผ้าฝ้ายดีกว่าไนล่อน
หลีกเลี่ยงการใส่กางเกงที่แน่น/คับเกินไป
เพิ่มความเป็นกรดของปัสสาวะ
ดื่มน้ำ2แก้วก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์
ฝึกขับถ่ายปัสสาวะบ่อยๆทุก2-4ชั่วโมง
ดื่มน้ำอย่างน้อย8แก้ว/วันเพื่อล้สงแบคทีเรียออกจากลำไส้
ใช้Estrogen creamตามแผนการรักษาของแพทย์
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีไม่สามารถไปห้องน้ำได้
ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
6-8แก้วหรือประมาณ1,500-2,000ml
การสวนปัสสาวะ
วัตถุประสงค์
เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ/ใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาผู้ป่วย
เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
ชนิดของการสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (intermittent catheterization)
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling catheterization )
อุปกรณ์
กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อขนาด10มิลลิตร
Transfer forceps
น้ำกลั่นปลอดเชื้อและน้ำยาทำลายเชื้อ
ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด
สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้
โคมไฟ/ไฟฉาย
ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ
พลาสเตอร์,เข็มกลัด,ผ้าปิดตา
ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์1ชุด หม้อนอน ถุงมือ ถุงสำหรับทิ้งสำลี
สายสวนปัสสาวะ
วิธีการสวนปัสสาวะ
การสวนคาปัสสาวะ(Indwelling)
จัดท่า ปิดตา คลุมผ้าผู้ป่วย
ผู้ชาย จัดท่า Supine position
ผู้หญิง จัดท่า Dorsal recumbent position
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาด
คลี่ผ้า วางผ้าสี่เหลี่ยมเจาะตรงกลางบริเวณอวัยวะสืบพันธืภายนอก
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือเช็ดบริเวณเปิดของท่อปัสสาวะ
หล่อลื่นKY - Jelly 1-2นิ้ว(เพศหญิง) 6-7 นิ้ว(เพศชาย)
ยกภาชนะรองรับปัสสาวะวางบนผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางระหว่างขาผู้ป่วย
สอดสายสวนปัสสาวะเข้าไปในรูเปิดของท่อปัสสาวะลึก2-3นิ้วในเพศหญิง/6-8นิ้วในเพศชาย
ปัสสาวะไหลออกมาให้ดันสายเข้าไปลึกอีกประมาณ1นิ้วในหญิง/เกือบสุดสายในชาย
ถ้ามีแรงต้านอย่าดันสายเข้าไป
ถ้ายังใส่ไม่ได้ให้หยุดทำและรายงานแพทย์
หากใส่ได้แล้ว ใช้กระบอกฉีดยาที่บรรจุน้ำกลั่นเข้าไปทางหาง foley ไม่เกิน10ml
สอดปลายของถุงรองรับปัสสาวะลอดบริเวณเจาะกลาง
ระวังอย่าให้ปลายสายcontaminate แล้วต่อหางสายสวนเข้ากับปลายสายของถุงรองรับปัสสาวะให้แน่นสนิท
เช็ดบบริเวณ Vulva ให้แห้งด้วยสำลี
การถอดสายสวนปัสสาวะมี่คาไว้ (Removing Indwelling)
เช็ดบริเวณ Perineumให้แห้ง
สังเกตลักษณะ จำนวนปัสสาวะในถุงก่อนเอาไปทิ้ง
ให้หายใจเข้าออกลึกๆเพื่อให้ผุ้ป่วยผ่อนคลาย ขณะดึงค่อยๆดึง
บันทึก จำนวน สี ลักษณะของปัสสาวะลงในบันทึกทางการพยาบาล
ใช้syringe ดูดน้ำกลั่นออกจนหมด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆสังเกตความผิดปกติของผู้ป่วย
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุบริเวณUrethra meatusให้สะอาด
หลักการพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ(Condom catheter)
การใส่ถุงยางอนามัย
ใช้ในผู้ชายที่มีปัญหาไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
ต้องเปลี่ยนอย่างน้อย24ชั่วโมง
ทำความสะอาดทุกครั้งที่เปลี่ยนถุงยาง
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนานๆ
ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
เพื่อรักษาความสะอาด/ป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง
ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
ผลข้างเคียง
ผิวหนังบริเวณองคชาตจะบวมแดงและถลอก
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
วิธีการเก็ยปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
เตรียมSyringe sterile เข็มปลอดเชื้อSterile swabย้ำยาฆ่าเชื้อ
ล้างมือ สวมถุงมือ เช็ดบริเวณที่จะเก็บปัสสาวะด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
ใช้Clampหนีบสายสวนปัสสาวะที่ใต้รอยต่อระหว่างสายต่อของถุงกับสายสวนไว้นานประมาณ15-30นาที เพื่อให้มีปัสสาวะใหม่เก็บอยู่ก่อน
ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื้อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงตำแหน่งที่ทำความสะอาดฆ่าเชื้อไว้แล้ว ดูดปัสสาวะออกาประมาณ10ml ส่งตรวจทันที
วิธีการเก็บปัสสาวะ24ชั่วโมง
เป็นการเก้บปัสสาวะที่มีการรวบรวมไว้จนครบ24ชั่วโมงแล้วส่งตรวจ
คำแนะนำ
งดโปรตีน คาเฟอีนก่อนการเก็บปัสสาวะประมาณ6ชั่วโมง/ดื่มน้ำมากๆ
วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ ล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
ให้ปัสสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บในชาวงถัดมาประมาณครึ่งภาชนะ
นำปัสสาวะไปส่งให้เจ้าหน้าที่
กระบวนการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การประเมินการพยาบาล
การประเมิน