Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 ยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาองค์การ การบริหารเปลี่ยนแปลง - Coggle…
บทที่ 14 ยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาองค์การ การบริหารเปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรมองค์การในยุคการเปลี่ยนแปลง
5.ภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตย
6.การให้อำนาจกับผู้ปฏิบัติงานมากขึ้น
4.เน้นการทำงานเป็นทีม
3.ตัดสินใจในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
7.ทำงานเปิดเผย โปร่งใส ตรวจสอบได้
2.เรียนรู้ หรือตื่นตัวสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ
8.อดทนและรับมือกับความเสี่ยงได้
1.ยืดหยุ่น ปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้ดีและรวดเร็ว
การยอมรับความสูญเสียและการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง
3.การปรับตัว
4.การมองหาโอกาสที่เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จ
5.พัฒนาทักษะที่เป็นจุดอ่อน
2.ตระหนักถึงความยุ่งยากที่เผชิญอยู่
6.กำหนดเป้าหมายในตัวเองขึ้นใหม่
1.พยายามทบทวนสิ่งใดที่ทำไปโดยไม่เป็นประโยชน์
ปัจจัย/ตัวแปรสำคัญของการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร
1.การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้าง
2.การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี
3.การเปลี่ยนแปลงด้านกายภาพ
4.การเปลี่ยนแปลงด้านบุคคล
แนวโน้มของกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับองค์การ
1.ด้านโครงสร้าง
3.เกิดจริยธรรมใหม่ของการทำงาน
4.การเรียนรู้และองค์ความรู้
5.เทคโนโลยีและการเข้าถึงสารสนเทศ
6.เน้นเรื่องความยืดหยุ่น
2.องค์ประกอบของประชากร
7.ต้องพร้อมเผชิญต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
การบริหารจัดการเปลี่ยนแปลงองค์กร
3.สร้างเป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจนและค้นหาแนวทางที่จะดำเนินการไปสู่เป้าหมายในทิศทางเดียวกัน
4.การเน้นการสื่อสารที่ทั่วถึงและถูกต้องโดยต้องมีการจัดระบบภายใน ด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
5.การให้ความสำคัญต่อการแก้ไขอุปสรรคในการดำเนินงานของทุกหน่วยงาน
6.การกำหนดโครงการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงโดยพิจารณาความเป็นไปได้
2.แสวงหากลุ่มคนที่มีอิทธิพลทางความคิดในการยำการเปลี่ยนแปลง
7.ส่งเสริมให้บุคลากรมีการเสนอความคิดใหม่ๆ และสนับสนุนให้เกิดโครงการใหม่ๆ
1.สร้างความตระหนักให้แก่พนักงานว่าปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งยอมรับได้
แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
1.กรอบแนวคิดการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ Kurt Lewin เป็นนักทฤษฎีองค์การผู้มีชื่อเสียงและมีอิทธิพลอย่างมากต่อแวดวงการบริหารการเปลี่ยนแปลง ด้วยการนำเสนอขั้นตอนกระบวนการที่เข้าใจง่ายและไม่ซับซ้อน
2.กรอบแนวคิดในการบริหารเปลี่ยนแปลงองค์กรของ John Kotter เป็นแนวคิดที่เน้นบทบาทของผู้นำว่าเป็นผู้ขับเคลื่อนหลักในการเปลี่ยนแปลง
3.กรอบแนวคิดในการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ Peter Senge ที่เน้นการปรับเปลี่ยนองค์กรโดยริเริ่มที่การปรับเปลี่ยนความคิดความเชื่อ ค่านิยมของคนส่วนใหญ่ในองค์กร ผู้นำมีบทยาทในการสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงนี้ในระดับบุคคล
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากร
การสร้างเกณฑ์ใหม่ในช่วงเกิดการเปลี่ยนแปลง อาจเป็นการกำหนดวิธีการทำงานแบบหใม่ หรือวิธีการสื่อวารแบบใหม่เพื่อใช้รับมือกับปัยหาที่กำลังเกิดขึ้น และป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ผู้นำการเปลี่ยนแปลงควรชี้แจ้งถึงความจำเป็นที่นำเกณฑ์ใหม่มาใช้ให้เกิดการร่วมมือสนับสนุนจากบุคลากรในองค์การ
ความหมายของการเปลี่ยนแปลงองค์กร
โลกปัจจุบันอยู่ในยุคกระแสโลกาภิวัฒน์ ซึ่งในแต่ละวันมีการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมายความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ย่อโลกให้เล็กลง การติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลและเรียนรู้ซึ่งกันและกัน สามารถทำได้โดยไม่มีขอบเขตจำกัดด้วยความเร็ว
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงต่อการสร้างนวัตกรรมการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร
2.การสร้างแรงบันดาลใจ
3.การกระตุ้นทางปัญญา
1.การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์
4.การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล
ผู้นำ เป็นอุปสรรคสำคัญ ต่อการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
ผู้นำต้องยอมรับก่อนว่าตนเองเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลง เมื่อก่อนนี้คนที่เก่งกว่า มักมีแนวโน้มประสบความสำเร็จมากกว่าหลังจากโลกหมุนเข้าสู่ยุคที่หนทางข้างหน้าเป็นเส้นทางเบลอๆ แถมมีเวลาเป็นคุ่แข่งคนสำคัญ
กรอบแนวคิดการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสำนักงาน ก.พ.ร.
2.การดำเนินการบริหารการเปลี่ยนแปลง ขั้นตอนนี้เป็นการดำเนินการบริหารการเปลี่ยนแปลงตามแผนกิจกรรมการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่กำหนดไว้ในขั้นตอนการเตรียมการ โดยเน้นการสร้างการยอมรับในองค์กรตามลำดับขั้นตอน APEC 4 รับรู้ ศรัทธา ศึกษาวิธี มีความสามารถ
3.การสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน ขั้นตอนนี้มุ่งดำเนินการในวิถีทางเหมาะสมและที่เป็นไปได้เพื่อเชื่อมโยงผลงานอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่กระบวนการให้ความดีความชอบทั้งในระดับหน่วยงานและบุคคล
1.การเตรียมการ ขั้นตอนนี้เป็นการเตรียมการก่อนนำการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่องค์กร เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงนั้นดำเนินไปในทิศทาง วัตถุประสงค์ และเป้าหมายเดียวกัน