Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรเทศสวิตเซอร์แลนด์ B937EB55-35F6-4CC8-AE1F-8A89135AA7D1 - Coggle Diagram
ปรเทศสวิตเซอร์แลนด์
ประวัติ
ประเทศสวิตซ์เซอร์แลนด์มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลและตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก มีพรมแดนติดกับประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี ออสเตรีย
มีลักษณะภูมิประเทศคล้ายกับเบลเยียม
เมืองหลวง คือ กรุงเบิร์น(Bern) เป็นเมืองมรดกโลก
ประชากรมีทั้งหมด 6.9ล้านคน
**ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
เยอรมนี
ภาคกลาง ภาคตะวันออก
ฝรั่งเศส
ภาคตะวันตก
อิตาเลียน
ภาคใต้
โรมันช์
ภาษาละตินโบราณ ใช้พูดกับคนในกลุ่มน้อยของมณฑล กริซองส์
ภาษาอังกฤษ
พูดกันได้ทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองและแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ
ภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศจะขึ้นอยู่กับระดับความสูงของพื้นที่และลักษณะภูมิอากาศตั้งเเต่แบบแอลป์ไปจนถึงแบบเมดิเตอร์เรเนียน
สำหรับฤดูใบไม้พลิสภาพอากาศกำลังเย็นสบาย ถ้าอยู่ในเมือง อากาศจะอยู่ที่ประมาณ15-20 องศาเซลเซียส เเต่ถ้าขึ้นเขาจะมีหิมะปกคลุม อุณหภูมิจะติดลบ
เมื่อถึงฤดูหนาว ในประเทศจะเต็มไปด้วยหิมะ และอาจมีฝนตกในบางครั้ง
ส่วนฤดูร้อนอากาศจะอบอุ่นเเละเย็นชื้น โดยอาจมีฝนตกบ้าง อุณหภูมิจะอยู่ในช่วง 30 องศาเซลเซียส
การนับถือศาสนา
ประเทศสวิตเซอร์เเลนด์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดศาสนาประจำชาติไว้เเต่ส่วนใหญ่ในประเทศจะนับถือศาสนาคริสต์
สถานที่ท่องเที่ยว
เทือกพิลาทุส
พิธีกรรมทางศาสนา
พิธีบูชามิสซา
คือพิธีขอบคุณ ในความเป็นหนึ่งเดียวกันของคริสชน โดยมีพระเยซูเจ้าเองเป็นเครื่องบูชาไถ่บาปให้กับมนุษย์ อาศัยกายเเละพระโลหิต
พิธี
ศีลมหาสนิท
เป็นะชพิธีกรรมของชาวคริสต์ เพื่อร่วมสนิทกับพระเยซู โดยรัปประทานขนมปัง และเหล้าองุ่น เพื่อให้ชาวคริสต์ระลึกถึงพระเจ้า
พิธีศักด์สิทธิ์วิถีชาวคริสต์
พิธีบัพติสมา
หรือศีลล้างบาป
พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์
หรือศีลมหาสนิท
ศีลอภัยล้างบาป
ศีลกำลัง
เป็นพิธีรับศีลโดยการเจิมหน้าผาก เพื่อยืนยันว่าจะนับถือศนาคริสต์ตลอดไป
ศีลสมรส
เป็นพิธีการประกอบการเเต่งงาน
ศีลอนุกรม
เป็นพิธีสำหรับนักบวช
ศีลเจิม
เป็นศีลที่โปรดให้สำหรับผู้ป่วยอ่อนกำลัง ในภาพที่น่าเป็นห่วง
ความเชื่อทางศาสนาคริสต์
มีความเชื่อว่าการภาวนาขอพรจากพระเเม่มาคีย์เป็นการแสดงความศรัทธาต่อพระเเม่มารีย์จะให้ช่วยให้การเจ็บป่วยดีขึ้นว
กระบวนการพยาบาล
1.ประเมินผู้ป่วย ดูเเลข้อมูล วิถีชีวิต ความเชื่อ
2.การตั้งข้อวินิจ
3.การวางแผนพยาบาล
4.การปฏิบัติการพยาบาลและดูเเล
5.การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นควรประเมินโดยใช้ผู้ป่วย ครอบครัวเป็นหลัก