Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดปฏิกิริยาตอบสนองของมนุษย์(Human’s Response), นางสาวสุวนันท์ แก้วบาง…
แนวคิดปฏิกิริยาตอบสนองของมนุษย์(Human’s Response)
เมื่อมีสิ่งมากระตุ้นบุคคลก่อให้เกิด ความเครียด (Stress)
แบ่งเป็น 2 แบบ
1) ความเครียดที่เกิดจาก
ความสุข (Eustress) เป็นเชิงบวก มีคุณค่านำไปสู่ความผาสุก (well-being) ชีวิตมีความเป็นอยู่ที่ดีและ
2) ความเครียด
ที่เกิดจากความทุกข์ (Distress) เป็นเชิงลบหรืออันตราย ทำให้เกิดความไม่สุขสบาย
ปฏิกิริยาตอบสนองของมนุษย์(Human’s Response)
เมื่อต้องเผชิญกับเหตุการณ์หรือ สถานการณ์
หรือสิ่งเร้าทั้งจากภายนอกและภายในร่างกายมากระตุ้น
การตอบสนองต่อภาวะตรึงเครียดของชีวิตและความทุกข์ทรมานใน
4 กลุ่ม
ด้านสรีรวิทยา
ด้านสังคม
การตอบสนองด้านจิตใจ
ด้านจิตวิญญาณ
การตอบสนองด้านจิตใจ (Psychological response)
กลไกการตอบสนองด้านจิตใจ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดดังนี้
การปรับตัวของการตอบสนอง (Adaptation responses)
คนเราจะต้องข้ามผ่านการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ตามขั้นตอน
การยอมรับ (acceptance)
การรู้จำ (recognition)
ตกใจ (shock)
ปฏิเสธ (denial)
ความสิ้นหวัง (despair)
ปฏิกิริยาการตอบสนอง (Reactive response)
คือการตอบสนองที่ไม่เหมาะสมได้แก่ ความวิตกกังวล
กลัว ความเศร้าโศก ความสิ้นหวัง ความโกรธ และภาวะซึมเศร้า
ความเครียด (Stress)
Selye (1956)
กลุ่มอาการ
การปรับตัว มี 2 ลักษณะ
กลุ่มอาการปรับตัวเฉพาะที่ (Local Adaptation Syndrome: LAS)
เป็นกลุ่มอาการปรับตัว
เฉพาะที่ที่ได้รับอันตรายเท่านั้น
เช่น เมื่อมีการบาดเจ็บเกิดขึ้น ร่างกายจะมีอาการบวม แดง ร้อน
กลุ่มอาการปรับตัวทั่วๆไป (General Adaptation Syndrome: GAS)
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะต่อต้าน (Resistance stage)
ระยะหมดกำลัง (Exhaustion stage)
ระยะเตือน (Alarm reaction stage)
การตอบสนองทางสรีรวิทยา (Physiological response)
ปรากฏขึ้นใน 2 ลักษณะ
การปรับตัวของ Neuro-hormonal
เช่น หลั่ง
ฮอร์โมน ACTH, Endocine, Norepinephine
ความผิดปกติทางจิตสรีรวิทยาที่ผิดปกติ เช่น หอบหืด
แผลในกระเพาะอาหาร ความดันโลหิตสูงหรือ ไมเกรน
การตอบสนองทางสังคม (Social response)
สมาชิกในครอบครัวหรือชุมชนแข็งแกร่งย่อมมีอำนาจในการข้ามผ่านช่วงวิกฤตไปได้ในทางตรงกันข้ามการแยกตัวออกจากสังคม
เช่น การจำคุกอาจทำให้บุคคลนั้นมีความเสี่ยงต่อความเครียดมากขึ้น
การตอบสนองทางจิตวิญญาณ (Spiritual response)
• การพึ่งพาความเชื่อและความเชื่อส่วนบุคคลมากขึ้น
• มีความสามารถในการรับความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานสูงขึ้น
• มีจิตสำนึกแห่งความอ่อนแอและความไม่สมบูรณ์
• มีความตระหนักถึงแหล่งที่มาสูงสุดของพลังและความสมบูรณ์แบบ
• ยึดมั่นในการอธิษฐานและการทำสมาธิ
• มีการเพิ่มวัตถุประสงค์ในชีวิต
นางสาวสุวนันท์ แก้วบาง 62102301135 (135)