Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ🌻🌵🥀🌹 - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ🌻🌵🥀🌹
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
1 อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ (Developmental growth)
2 น้ำและอาหาร (Food and fluid)
3 ยา (Medication)
4 ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
5 สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factor)
6 ลักษณะท่าทาง (Body position)
7 กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Activity and Muscle tone)
8 พยาธิสภาพ (Pathologic conditions)
9 การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่าง ๆ (Surgical and diagnostic procedure)
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
1 แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในคนปกติ
อยากถ่ายปัสสาวะเมื่อมีปริมาณปัสสาวะอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ 100-400
มิลลิลิตร
กรณีอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะได้ทันที ต้องสามารถกลั้นได้ และเมื่อจะ
ปัสสาวะก็สามารถปัสสาวะได้ทันท
การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกต
ไม่มีปัสสาวะ (Anuria/Urinary suppression) เป็นภาวะที่มีปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า
50 มิลลิลิตรต่อวันหรือไม่มีการปัสสาวะเลย
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (Oliguria) เป็นภาวะที่มีปัสสาวะน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ใน 24
ชั่วโมง หรือน้อยกว่า 30 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
ปัสสาวะมากกว่าปกติ (Polyuria หรือ Diuresis) เป็นภาวะที่ไตผลิตปัสสาวะออกมา
จำนวนมากกว่าปกติ (มากกว่า 2,500–3,000 มิลลิลิตรต่อวัน)
ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงปนออกมาในน้ำปัสสาวะ
ทำให้ปัสสาวะเป็นสีแดง
น้ำตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
ภาวะที่มีน้ำตาลปนออกมาในน้ำปัสสาวะ โดย
คนปกติจะตรวจไม่พบน้ำตาลในปัสสาวะ
โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)
ภาวะที่มีโปรตีนหรือ
แอลบูมิน ในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน
คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
ภาวะที่ตรวจพบคีโตนในน้ำปัสสาวะโดยคีโตนเป็น
ผลจากการเผาผลาญไขมันให้เป็นพลังงาน
ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน (Bilirubinuria หรือ Choluria)
ภาวะที่ตรวจพบบิลิรูบินในน้ำปัสสาวะ โดย bilirubin เป็น Breakdown product ของ Hemoglobin
ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria)
ภาวะที่มีการสลายตัวของเม็ดเลือดแดงทำให้เกิด Oxyhemoglobin หรือ Methemoglobin ในปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีปัสสาวะไม่ออก
สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้ำได้
การสวนปัสสาวะ
วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
1)เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
2) เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
3) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
4) เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
5) เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
6) เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
7) เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
ชนิดของการสวนปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (Intermittent catheterization)
การสวนปัสสาวะ ( Indwelling catheterization or retained
catheterization)
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะได้
วัตถุประสงค์
1) เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง เนื่องจากเปียกปัสสาวะบ่อยๆ
2) ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
3) ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
4) ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว้
วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
การประเมิน
การซักประวัติ
ตรวจร่างกายในระบบทางเดินปัสสาวะ
วิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การวางแผนการพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินผลการพยาบาล
ปัสสาวะสีเหลืองใสไม่มีตะกอน สัญญาณชีพปกติ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ไม่พบเชื้อ