Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์ (pregnancy induce hypertention) - Coggle…
ความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์ (pregnancy induce hypertention)
ความหมาย
การทีมีความดันโลหิตสูงมากกว่าหรือเท่ากับ140/90 mmHg และมีโปรตีนในปัสสาวะ โดยอาจจะมีหรือไม่มีภาวะบวมก็ได้
อาการ
ปวดหัวตลอดเวลา
ความดันโลหิตสูง
เกล็ดเลือดต่ำ
การทํางานของตับผิดปกติ
มีโปรตีนในปัสสาวะ
ปัสสาวะออกลดลง
หน้าหรือมือบวม
มองเห็นเป็นจุดดําๆ และเห็นภาพเปลี่ยนแปลง
ปวดบริเวณลินปี่
คลื่นไส้และอาเจียนในช่วงไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์
น้ำหนักขึ้นอย่างรวดเร็ว
หายใจลําบาก
พยาธิสภาพ
จำแนกตามระบบ
ระบบประสาท
เส้นเลือดในสมองหดเกร็งประกอบกับมีการทําลายของ endothelial cells ในสมองทําให้เนื้อเยื่อในสมอง มีเลือดออก และเกิดเนื้อตาย
ส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์จะมีอาการ
มีการกระตุกสั่นของกล้ามเนื้อ (clonus)
เห็นภาพเบลอ ภาพซ้อน หรืออาจมองไม่เห็น
ระดับความรู้สึกเปลี่ยนแปลงลง มีการชักเสมอเมื่อเกิดพยาธสิภาพที่สมอง
เกิดปฏิกิรยิาสะท้อนที่เร็วเกินไป (hyperreflex)
ปวดศีรษะ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีการเพิ่มของเลือดที่ออกจากหัวใจอย่างมากในระยะต้นๆของการดําเนินของโรคคประกอบกับการมีภาวะเส้นเลือดบีบรัดตัวตัวและเกิดภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดขึ้น
จะส่งผลใหเ้กิดภาวะ low preload และ high after load
การกําซาบของเนื้อเยื่อในสมองและไตลดลง
เส้นเลือดหดรัดตัวทั่วร่างกาย
มีผลทําให้เกิดการทํางานของหัวใจล้มเหลว (cardiac decompensation)
ระบบโลหิตวิทยา
ทําใหเ้ม็ดโลหิตแดงและเกร็ดเลือดถูกทําลายมากขึ้น
ทําให้ปริมาณเม็ดเลือดแดงแตกและเกร็ดเลือดลดน้อยลง
ก่อใหเ้กิดภาวะแทรกซ้อนทีเรียกว่า HELLP syndrome
อาการแสดงของ HELLP syndrome
มักพบตั้งแต่สัปดาห์ที่ 17 ของการตั้งครรภ์ไปจนถึงระยะหลังคลอด1สัปดาห์
์
ปัจจุบันพบบ่อยที่สุดในช่วง 24-48 ชั่วโมงหลังคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเม็ดเลือดแดง จะพบ small irregularly shaped red cellssและ echincoytes (Burr cells)
การตรวจเอนไซม์ในตับ จะพบการเพิjม ของ ALT และ AST
ซึ่งหมายความว่า มีการตายของเนื้อตับและมีเลือดออกในตับ
พบมี thrombocytopenia (เกร็ด เลือดน้อยกวา่ 100,000 L))
ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ว่า เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัวแล้ว
ระบบการทํางานของปอด
เกิดภาวะปอดบวม ผลมาจากการลดลงของ plasma oncotic pressureและการเพิ่ม permeability ในเส้นเลือดชั้น endothelial ทําให้มีน้ำเข้าสู่
pulmonary interstitial space
ระบบประสาท
มีการทําลายชั้น endothelial ของเส้นเลือดในไต ต
มีผลทําให้เซลล์ของโกลเมอรร์ูล่าร์รวม (glomerular cells) แคพพีราร่า
ลูพส์(capillary loop)ขยายและหดรัดจากภาวะเส้นเลือดหดรัดตัวทําให้เกิดภาวะกําซาบและการไหลผ่าของหลอดเลือดในไตลดลง
ทําให้creatinine และ uric acid เพิ่มขึ้น พบโปรตีนในปัสสาวะะ
โดยมักจะพบในระยะท้าย ๆ ของการเป็น
ภาวะปัสสาวะจะเป็นเลือดสามารถพบได้ถ้าเม็ดเลือดแดงแตกก
มักจะพบในรายที่รุนแรงและอาจพบปัสสาวะออกน้อยและไตวายได้ในที่สุด
ระบบการทํางานของตับ
การถูกทําลายของ endothelial มักพบวา่ มีการเกิดรอยโรคในตับ
ผู้ทีมีภาวะแทรกซ้อนนี้จะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนน
ปวดบรเิวณชายโครงขวาหรือใต้ลิ้นปี่
ซึ่งเป็นภาวะที่ต้องผ่าตัดอย่างรีบด่วน
เพื่อป้องกันการเสียชีวิตทั้งมารดาและทารก
การมีเลือดออกจากรอยโรคมักเกิดบรเิวณแคปซูนของตับบ
หรือถ้ารุนแรงก็อาจเกิดภาวะแคปซูนแตก (capsule rupture)
มีเลือดออกและเกิดการตายของเนื้อเยื่อในตับ
การเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อมดลูกและรก
มีผลทําให้เส้นเลือดในแนวเฉียงของมดลูก (spiral arteries)
มีการเปลี่ยนแปลง เส้นเลือดแคบลงและเหยียดออกจาก intervillous
space ซึ่งเป็นส่วนที่รกสัมผัสกับกล้ามเนื้อ
มีผลทําให้มีเส้นเลือดไปเลี้ยงบรเิวณรกน้อยกว่าปกติิ
การที่เส้นเลือดไปเลี้ยงรกน้อยกว่าปกติิ
จึงมีผลต่อทารกทําให้ทารกได้รับเลือดจากแม่น้อยลง
ทําให้ทารกในครรภ์มีขนาดเล็กกว่าปกติ(IUGR)
การหดเกร็งของหลอดเลือด (vasospasm)
เป็นพยาธิสภาพประการแรกที่เกิดขึ้นในภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์
ชนิด
Mild preeclampsia ความดันโลหิตสูงไม่เกิน
160/ 110 mmHg หรือมีโปรตีนรั่วปัสสาวะไม่เกิน 2 กรัมต่อวัน หรือไม่มีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น เกร็ดเลือดต่ำ ไตวาย และทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
Severe preeclampsia ความดันโลหิตสูง มากกวา่ 160/110mmHg หรือมีโปรตีนในปัสสาวะมากกวา่ 2 กรัมต่อวัน หรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ปวดศีรษะมาก ตาพร่ามัว มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำไตวาย
ประเภท
Chronic hypertensionคือ ความดันโลหิตสูงซึ่งพบก่อนการตั้งครรภ์หรือก่อนอายุครรภ์ 20สัปดาห์ หรือภาวะความดันโลหิตสูงยังคง นากกว่า 12 สัปดาห์ หลังคลอด
Gestationl hypertension (Transienthypertension )
คือ ความดันโลหิตตั้งแต่ 140/90 mmHg ซึ่งพบเป็นครึ่งแรกขณะตั้งครรภ์โดยไม่มีโปรตีนในปัสสาวะ(proteinuria) เมื่อติดตามจนหลังคลอด 12 สัปดาห์ ความดันโลหิตจะต้องลดลงเป็นปกติ
Preeclampsia คือ ความดันโลหิตตั้งแต่ 140/90mmHg ซึ่งพบเป็นครั้งแรกขณะตั้งครรภ์และมีโปรตีนในปัสสาวะ(300 มก ต่อ 24 ชม หรือ urine protein โดยrandom specimen ตั้งแต่ 30 มก ต่อเดซิลิตร หรือ dipstick test ตั้งแต่ 1+
Eclampsia คือ ภาวะชักซึ่งหาสาเหตุอื่นไม่พบ ในผู้ป่วย Preclampsia
Superimposed preeclampsia คือ ภาวะ preeclampsia เกิดกับผู้ป่วยที่มีภาวะ chronichypertension การวินิจฉัยภาวะ Superimposed preeclampsia ในผู้ป่วยที่ไม่มีโปรตีนในปัสสาวะอยู่เดิมใช้เกณฑ์การตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ 300 มก.ต่อ 24 ซม สําหรับผู้ป่วยที่มีโปรตีนในปัสสาวะอยู่เดิมใช้เกณฑ์การตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะสูงขึ้นอย่างชัดเจนหรือความดันโลหิต Sysytolic สูงขึ้น 30 mmHg หรือความดันโลหิต diastolic สูงขึ้น 15 mmHg หรือเกล็ดเลือดเล็กน้อยกวา่ 100,000 ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร
ปัจจัยเสี่ยง
สตรีตั้งครรภ์แฝด
สตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคประจําตัวก่อนตั้งครรภ์ ภ์เชน่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคไตเรื้อรังโรคลูปัส/โรคSLE
สตรีตั้งครรภ์ที่มีญาติพี่น้องสายตรงมีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ครรภ์แรกหรือตั้งครรภ์แรกกับคู่สมรสใหม่
ตั้งครรภ์ที่อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือมากกวา่ 35 ปี
ระยะห่างของการตั้งครรภ์ห่างจากครรภ์ก่อนมากกว่า 10 ปี
สตรีตั้งครรภ์ที่มีประวัติครรภ์เป็น
พิษในครรภ์ครั้งก่อน
แผนการรักษา
Retained foley cath
Observe t DTR
Observe อาการ seizure ปวดหัว ตาพร่ามัว
จุกแน่นลิ้นปี่ หายใจเหนื่อย BP > 160/110
Observe BP
การรักษาด้วยยา
Nicardipine (1:5) IV 5 ml./hr. then
↑↓ 3 ml./hr. keep BP < 160/90 mmHg
Hydralazine (25) 1 tab
10%MgSO_4 5 g. (5 amp) IV slowly push in 15 min. then
50%MgSO_4 20 g. + 5%DW 1000 ml. IV drip 50 ml/hr. (1g./hr)
Dimen 1 amp vein prn q 6 hr.
Cytotec (200 mg.)
Pethidine 50 mg. vein prn q 4 hr.
Synto 10 u vein push.