Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเมืองการปกครองในสังคมพหุวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การเมืองการปกครองในสังคมพหุวัฒนธรรม
แนวทางนโยบายเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรม
Culture Mosaic
Ethnic Divrsity Survery
Visible Minonity
First Nation
การมีผู้นำที่มีประสิทธีภาพองสิงคโปร์
หลักพหุนิยมทางวัฒนธรรม
หลักความก้าวหน้านิยม
หลักคุณธรรมนิยม
หลักปฏิบัตินิยม
รัฐชาติ
รัฐบาล
อาณาเขต
อำนาจอธิปไตย
ประชากร
พหุวัฒนธรรมในสังคมไทย
แนวคิดพหุวัฒนธรรมทางการเมืองในสังคมไทย
สังคมยุคล่าอาณานิคม
การปกครองแบพหุวัฒนธรรม
แนวนโยบายเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมองสังคมตะวันออก
3.ประเด็นปัญหาเรื่องขั้นตอนการดำเนินการ
4.ปัญหาด้านการแบ่งประเภทชนกลุ่มน้อย
2.แนวคิดชาตินิยม
5.ปัญหาด้านความมั่นคง
1.มรดกตกทอดจากยุคอาณานิคม
แนวทางนโยบายพหุวัฒนธรรมของสิงคโปร์
นโยบายเสริมการท่องเที่ยวที่มีจุดายเรื่องความหลายหลายของวัฒนธรรม
เน้นการสร้างความเป็นเอกภาพ
นโยบายด้านภาษา
การใช้แนวทางนโยบายที่สะท้อนแนวคิด เอกภพบนความแตกต่างหลากหลาย
การวางผังเมืองที่คำนึงถึงดตชุมชนของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ
แนวทางนโยบายเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมของสิงคโปร์
"ต่างชาติพันธู์แต่ใจรวมกันเป็นหนึ่งเดียว"
การสร้างชาติของ ลีกวน ยู การสร้างเสถียรภาพทางการเมือง
ส่งเสริมและประสานความกลมกลืนด้านเชื้อชาติและศาสนา
ชาติสำคัญกว่าชุมชนและสังคมสำคัญกว่าปัจเจกบุคคล
ครอบครัวเป็นหน่วยพื้นฐานของสังคม
การส่งเสริมฉันทามติ
การให้สนับสนุนช่วยเหลือกันในชุมชนและเคารพส่งต่อปัจเจกบุคคลเป็นการสนับสนุน
แนวนโยบายเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมองสังคมตะวันตก
2.การให้ความสำคัญและให้สิทธิเสรีภาพแก่ชนพื้นเมืองเพิ่มมากขึ้น
3.การปฏิบัติต่อกลุ่มผู้อพยพเข้าเมืองโดยถูกกฏหมายในทิศทางที่ผ่อนปรนมากขึ้น
1.การให้สิทธิและเสรีภาพมากขึ้น แก่ขบวนการชาตินิยมของชนกลุ่มน้อยในสังคม
4.สำหรับผู้อพยพที่เข้าเมืองโดยผิดกฏหมายรัฐบาลในประเทศเหล่านี้ มีแนวทางชัดเจนมากึ้นที่จะทำให้ผู้อพยพกลุ่มนี้อยู่ในประเทศอย่างถูกกฎหมาย
กลุ่มคนที่เป็นชนกลุ่มน้อยหรือกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆเริ่มกดดันรัฐบาลและเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ
เริ่มยอมรับข้อเรียกร้องของกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมมากขึ้น