Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดพื้นฐานทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
แนวคิดพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ยา (Drug, medicine)
สารหรือสารเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต หรือ ขบวนการต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
การเรียกชื่อยา
ชื่อสามัญทางยา (Generic Name)
Paracetamol, acetaminophen
(500 mg)
Aspirn
ชื่อทางเคมี (Chemical Name)
N-(4-hydroxyphenyl) acetamide
2-acetoxybenzoic acid
-Acetylsalicylic acid
ชื่อทางการค้า (Trade Name)
Tylenol®
Sara®
Aspent-M®
แนวคิดและขั้นตอนการผลิตยา
Preclinical trial (การศึกษาวิจัยในสัตว์ทดลอง)
การเกิดพิษ (toxicity) ระยะสั้น และระยะยาว
การก่อให้เกิดมะเร็ง(carcinogenicity)
การทำให้เกิดทารกในครรภ์พิการ (teratogenicity)
clinical trial (การศึกษาวิจัยในคน)
Phase I อาสาสมัครชายสุขภาพดี 20-80 คน
คุณสมบัติทางจลนศาสตร์ของยา ผลการรักษา และการเกิดพิษ
Phase II ผู้ป่วย 50-300 คน
เพื่อหาประสิทธิภาพ และความ
ปลอดภัย เพื่อ ก าหนด ขนาดและวิธีใช้ยา
Phase III ผู้ป่วย 250-1000 คน
เพื่อหาประสิทธิภาพ และความ
ปลอดภัย โดยอาจเทียบกับยาที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
Phase IV
post marketing Surveillance
แหล่งที่มาของยา
ยาที่ได้จากรรมชาติ
ยาที่ได้จากพืช (drug from plants)
Morphine ได้มาจากยางฝิ่น
Quinine ได้จากเปลือกต้นซิงโคนา (Cinchona)
Vincristine, vinblastine ได้จากต้นแพงพวยฝรั่ง (periwinkle)
Caffeine สกัดจากใบชา กาแฟ
Digoxin ได้จาก foxglove (Digitalis purpurea)
ยาที่ได้จากสัตว์ (drug from animals)
Heparin ได้จากการสกัดจากปอดวัว และเยื่อบุลำไส้หมู
ยาที่ได้จากแร่ธาตุ (drug from minerals)
Iodine tincture
O.R.S. (oral rehydration salt) : NaCl, KCl, glucose,....
AI (OH), Mg (OH) ยารักษาโรคกระเพาะอาหาร
Kaolin (ดินขาว)
Activated charcoal
2.ยากึ่งสังเคราะห์
ยาที่ได้มาจากสารจากธรรมชาติ แต่นำมาดัดแปลงโครงสร้างทางเคมี
Penicillin
Cloxacillin
(มีความจำเพาะเจาะจงในการรักษามากขึ้น )
สารสังเคราะห์
สังเคราะห์โดยเลียนแบบสารที่ได้จากธรรมชาติ เพื่อลดต้นทุนการผลิต
ยาที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพ
Interlukin-2
Growth factors
Insulin
ยาเตรียมรูปแบบต่างๆ
ตัวยาหลัก (Active ingredient) ( >1)
ออกฤทธิ์ในการรักษา
สารปรุงแต่งยา (Excipients)
ช่วยเพิ่มความคงสภาพของตัวยาส าคัญ เช่น สาร
antioxidant
ช่วยรักษาความเป็นกรด-ด่าง เช่น buffer ในยาหยอดตา
ช่วยในการเตรียมต ารับได้ง่ายขึ้น เช่น ตัวท าละลายใน
ยาน ้าสารช่วยไหลในยาเม็ด
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา เช่น สารช่วยแตก
ตัวในยาเม็ด
เพื่อความสวยงาม
เพื่อการระบุเอกลักษณ์
ยาเตรียมรูปแบบของแข็ง (Solid dosage form)
ยาเม็ด (tablet)
ยาเม็ดเคลือบน ้าตาล (sugar coating tablet)
ยาเม็ดเคลือบฟิล์ม(films coating tablet)
ยาเม็ดอม (troche, lozenge )
ยาเม็ดอมแบบนิ่ม (pastilles)
ยาเม็ดอมใต้ลิ้น (sublingual )
ยาเม็ดฟู่ (effervescent tablet )
ยาผงฟู่ (effervescent granule )
ยาลูกกลอน
(pills)
แคปซูลชนิดเปลือกแข็ง (hard gelatin capsule)
แคปซูลชนิดนิ่ม (soft gelatin capsules)
ยาผง
(Dusting powder
ยาเตรียมรูปแบบของเหลว (liquid dosage form)
ยาน ้าเชื่อม
ยาอิมัลชัน
ยาน ้าแขวนตะกอน
(บางชนิดผสมน ้าก่อนใช้)
ยาเตรียมรูปแบบกึ่งแข็ง (liquid dosage form)
ยาครีม
ยาขี้ผึ้ง
เพสต์(paste)
ยาเตรียมรูปแบบอื่นๆ (miscellaneous)
ยาเหน็บทวาร
(suppository)
ยาสวนทวาร
(Enema)
ยาเม็ดส าหรับเหน็บช่องคลอด
(vaginal tablet )
ยาฝัง( implant)
ยาพ่น
(inhaler)
ยาแผ่นแปะผิวหนัง
(Transdermal patch )
ยาเม็ดออกฤทธิ์เนิ่น (sustained release tablet)
ยาปราศจากเชื้อ (sterile product)
1.ยาฉีด (parenteral preparations)
ยาฉีดชนิดน ้าใสหรือขุ่น หรือชนิด ชนิดผงแห้ง(ผสมสารท าละลาย
ก่อนใช้)
สารน ้าทดแทนต่าง เช่น dextrose
สารที่ใช้ปรับสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย calcium gluconate
2.ยาใช้สำหรับเฉพาะที่ เช่น สำหรับตา หู จมูก
ยาน ้าใสส าหรับหยอดตา (opthalamic solution)
ยาน ้าใสส าหรับล้างตา (Eye irrigation
ยาขี้ผึ้งป้ายตา (opthalamic ointment)
ยาเคมีบ าบัด (cytotoxic preparation)
อยู่ในรูปแบบยาฉีด เช่น doxorubicin, Vincristine sulfate, Fluorouracil,
Cisplatin, Mitocin C, Methotrexat
อาจมีการเตรียมแบบ (freshly prepared) ส าหรับผู้ป่วยเฉพาะราย
ยาเตรียมกัมมันตรังสีหรือเภสัชรังส
ใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรค
5.ชีวผลิตภัณฑ์ (biological products)
เลือดและผลิตภัณฑ์จากเลือด
วัคซีน (vaccine)
ซีรั่ม (serum)
ทอกซอยด์(toxoid)
สารที่ใช้ป้องกันการแข็งตัวของเลือด (anti-coagulant solution)
heparin,Streptokinase
Enoxaparin sodium
Nadroparin Calcium
สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดด า (total parenteral Nutrition, TPN or
partial parenteral nutrition , PPN)
สารอาหารเช่น Amino acid solution
Fat emulsion, Mineral solution
ยาปราศจากเชื้ออื่น ๆ
น ้ายาที่ใช้ส าหรับการล้างไต (intraperitoneal dialysis)
น ้ายาท าความสะอาดแผล
0.9 % Sodium chloride solution (Normal saline)
Sterile water for injection
ทำไมต้องมีการผลิตยาในรูปแบบต่างๆ
เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ป่วยในแต่ละประเภท
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาในขนาดที่ถูกต้องและสม ่ำเสมอทุกครั้งที่ใช้ยา
เพื่อป้องกันการเสื่อมสลายของยาจากความชื้นหรืออากาศ เพิ่มความคงตัว
ของยา
เพื่อกลบกลิ่นรสที่ไม่ดีของตัวยา
Hydrocortisone
ยา steriod
ยาสูดพ่นคอ (Inhalation) ในโรคหอบหืด
Nasal spray พ่นจมูกแก้แพ
รูปแบบของยา
รูปแบบของยาที่ดี
บริสุทธิ์ปราศจากเชื้อตามมาตรฐาน
มีความสม ่าเสมอของขนาดยา
มีประสิทธิภาพดี
มีความปลอดภัยสูง ไม่เกิด side effect
มีความคงตัวดี
มีลักษณะน่าใช้
วิธีบริหารยา (Routes of drug administration)
Systematic
ยาฉีด (Injection)
รับประทาน (Oral)
อมใต้ลิ้น (Sublingual)
เหน็บทวารหนัก (Suppositories)
ยาฝัง (implantation)
ยาแผ่นแปะผิวหนัง (transdermal)
Topical
ยาหยอดตา
ยาครีม (cream)
ยาป้ายปาก (oral paste)
ยาสูดพ่น (inhaler)
ยาเหน็บช่องคลอด (vaginal suppositories)
ยาเหน็บทวาร (suppositories)
ยาสวนทวาร (enemas)
ยาแผ่นแปะผิวหนัง (transdermal )
วิธีบริหารยา
Systemic
Enteral administration
1.1 oral
ิธีรับประทานเป็นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุด
1.2 sublingual
ตัวยาถูกดูดซึมผ่านเยื่อเมือกในช่องปากเข้าสู่หลอด เลือดดำ
1.3 Rectal administration
ยาที่ให้ทางทวารหนักอาจให้ในรูปยาเหน็บ (suppositories) หรือยา สวนทวาร (enemas)
Parenteral administration
เข้าหลอดเลือดดำ/เข้าเส้น (Intravenous) IV
เข้าใต้ผิวหนัง (Subcutaneous) SC
เข้ากล้ามเนื้อ (Intramuscular) IM
เข้าเส้นเลือดแดง (intra-arterial) IR
เข้าใต้สันหลัง (Intrathecal) เช่น spinal block
เข้าข้อกระดูก (Intraarticular) IA
Intradermal
ทดสอบภูมิแพ้
ให้ภูมิคุ้มกันโรค
ให้ยาชาเฉพาะท
Intraveneous
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำโดยตรง
ให้ผ่าน heparin lock
ให้ผ่านสารน ้า
ใช้กับยาฉีดที่เป็นยาน ้าสารละลายใส
Intramuscular
ให้ยาดูดซึมเร็วกว่า การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ฉีดยาปริมาณมากกว่าการฉีดใต้ผิวหนัง
ลดการระคายเคืองเมื่อฉีดยาบางชนิด เช่น
ยาน ้าแขวนตะกอนชนิดฉีด
Topical/local ยาใช้เฉพาะที่
ยาหยอดตา
ยาครีม (cream)
ยาป้ายปาก (oral paste)
ยาสูดพ่น (inhaler)
ยาเหน็บช่องคลอด (vaginal suppositories)
ยาเหน็บทวาร (suppositories)
ยาสวนทวาร (enemas)
ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารยา
คุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีของตัวยาส าคัญ เช่นยาที่ถูกท าลายด้วยกรดในกระเพาะอาหารจะให้ โดยการรับประทานไม่ได้
วัตถุประสงค์การรักษา เช่น หากต้องการให้ได้ผลเร็วและระดับยาที่ได้แน่นอนการ
ฉีดจะเป็นวิธีที่ เหมาะสมที่สุด
สภาวะของผู้ป่วยต้องดูว่าผู้ป่วยอยู่ในสภาวะที่รับประทานยาได้หรือไม่ และ
จะต้องให้ยาโดยวิธีใด ทดแทน
ประเภทของยา
ยาแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจ าบ้าน/ยาต าราหลวง/ยาบรรจุเสร็จ
ยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาแผนโบราณ
ฉลากยา(Label)
ชื่อการค้า (Trade name)
ชื่อทั่วไป (Generic name)
ความแรง/ส่วนประกอบ (Strength/Compositions)
ข้อบ่งใช้ (indication)
วันผลิต (Manufacturing date)
วันหมดอายุ (Expired date/Use by/Use before)
เลขขอขึ้นทะเบียน (Register number)
เลขที่ผลิต (Control/Lot./Batch number)
ประเภทของยา
ชื่อ-ที่อยู่ Name-Address of manufacturer)
เครื่องหมายการค้า (Trade mark)
วิธีป้องกันและรักษาคุณภาพของยา
เก็บให้ถูกหลักวิชาการ
ตามคำแนะน าของบริษัท (ยาเก็บในตู้เย็น เก็บในภาชนะ
กันแสง)
หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ท าให้ยาเสื่อมสภาพได้ง่าย
แสงแดด
ความชื้น
อากาศ
ภาชนะบรรจ
เก็บให้ปลอดภัย
เก็บเป็นระเบียบ
หลักการใช้ยาให้ปลอดภัย
right patient
right drug
right dose
Right route/right method
Right time