Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่มีความหลากหลาย วัฒนธรรมในกลุ่มทวีปเอเซียประเทศกัมพูชา …
การดูแลผู้ป่วยที่มีความหลากหลาย
วัฒนธรรมในกลุ่มทวีปเอเซียประเทศกัมพูชา :<3:
ประวัติประเทศกัมพูชา :star:
ราชอาณาจักรกัมพูชาเป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว
เมืองหลวง :star:
กรุงพนมเปญ
ประชากร :star:
ประชากรกว่า 14.8 ล้านคน
กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก
ภาษา :star:
ภาษาเขมรเป็นทางการของประเทศกัมพูชา
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง
ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเวียดนาม ภาษาไทย
และภาษาจีน เฉพาะในเมืองท่องเที่ยวของกัมพูชา
ศาสนา :star:
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ที่มีศาสนิกชนกว่าร้อยละ 95 ถือเป็นศาสนาที่แข็งแกร่งและเป็นที่แพร่หลายในทุกจังหวัด
กลุ่มชนเชื้อสายจีน ยังมีการนับถือควบคู่กันระหว่างมหายานกับลัทธิเต๋า
ศาสนาอิสลาม เป็นที่ยอมรับนับถือในชุมชนที่มีเชื้อสายจามและมาเลย์
ความเชื่อ :star:
4 ประการ
1.เกิดจากภายในตัวของคนป่วยเองที่เกิดความไม่สมดุลขึ้นในร่างกายเป็นสิ่งที่เกิดตามธรรมชาติ
เกิดจากการกระทำของอำนาจเหนือธรรมชาติในวัฒนธรรมกัมพูชามีความเชื่อเรื่องผีต่างๆ มากมาย
เกิดจากการละเมิดข้อกำหนดพื้นฐานต่างๆในการดำรงชีวิต ในสังคมกัมพูชา คำว่า โร เบียบ เรียบ รอย (ro beab reab roi) เป็นคำที่มีความหมายถึง วิถีทางที่ถูกต้องของชีวิตที่ได้ถูกกำหนดไว้ในสังคม
4.เกิดจากกรรมเก่าที่มีติดตัวมาตั้งแต่ชาติปางก่อน จึงเป็นเรื่องปกติที่การรักษาความเจ็บป่วยจะควบคู่ไปกับความเชื่อเรื่องโหราศาสตร์
ความเชื่อเรื่องการคลอดและการดูแลหลังคลอดในสังคมกัมพูชา
มีข้อห้ามขณะตั้งครรภ์
ห้ามฆ่าสัตว์ห้ามกินของเผ็ด
ห้ามฟังเรื่องผีห้ามนอนกลางวัน
ห้ามอาบน้ำตอนกลางคืน
ห้ามถามทุกข์สุขคนที่คลอดลูกยาก
ปิตีทวมเลกจอมกาน (Pi Tee Tom Lak Chomkran)
ไหว้ ผีบรรพบุรุษเพื่อขอบคุณที่คุ้มครองให้การคลอดปลอดภัย
ปิตีบุญประกาศชาหมอบ (Pi Tee Bun PagardChhmob)
พิธีขอบคุณหมอตำแยเป็นผู้ที่ต้องเสี่ยงอันตรายสัมผัสเลือดที่ไม่บริสุทธิ์จากการคลอด
สังคมกัมพูชา ชาหมอบ ถือว่าเป็นผู้ที่มีสถานภาพพิเศษเพราะเชื่อว่าเป็นผู้ที่มีสิ่งศักดิ์คอยคุ้มครอง เพื่อต่ออสู้กับ ผีร้าย
ความเชื่อเรื่องการควบคุมสมดุลร้อน-เย็นอังเพลิงการใช้ก้อนหินเผาไฟให้ร้อนแล้วห่อผ้าวางบนท้อง การดื่มเหล้าสมุนไพร
การพยาบาลที่สอดคล้อง :star:
มีการอธิบายและให้ความรู้เกี่ยวกับการดื่มเครื่องดื่มสมุนไพร
สามารถให้หญิงตั้งครรภ์ปฏิบัติไม่นอนหลับพักผ่อนในเวลากลางวันได้ตามความเชื่อ
ควรเลือกอาหารที่มีประโยชน์ไม่ควรรับประทานอาหารพวกไขมันมาเกินไป ควรหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด อาหารดิบ ๆ สุกๆ
มีการแนะนำไม่ให้ใช้กระเป๋าน้ำร้อนหรืออบสมุนไพรที่มีอุณหภูมิสูงเกินไป เพราะอาจะจะทำให้เกิดขาดน้ำ
กระบวนการพยาบาล :star:
1.การประเมินผู้ป่วย
1.มีความเชื่อในสิ่งเหนือธรรมชาติเกี่ยวกับหญิงขณะตั้งครรภ์มากมาย
2.ความเชื่อเรื่องการควบคุมสมดุลร้อน-เย็นในสังคมกัมพูชาความเชื่อเรื่องการควบคุมสมดุลร้อน-เย็นในร่างกายเป็นสิ่งสำคัญมากในการดูแลผู้หญิงทั้งก่อนคลอดและหลังคลอด
2.ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
อาจเกิดความเสี่ยงต่อบุตรเนื่องจากขาดความรู้ในการดูแลตัวเองหลังคลอดและมีการการดำเนินชีวิตตามวามเชื่อที่ไม่สอดคล้องแผนการรักษา
3.การวางแผนการพยาบาลการปฏิบัติการพยาบาล
1)อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงการพักผ่อนให้เพียงพอระหว่างที่ตั้งครรภ์โดยที่ไม่ต้องนอนกลางวันสามารถที่จะพักผ่อนกลางคืนให้เพียงพอ
2)อธิบายถึงเหตุผลในการห้ามดื่มเหล้าสมุนไพรหลังการคลอด
3)มุ่งเน้นการแนะนำให้ความรู้และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
4.การปฏิบัติการพยาบาล
1.สามารถให้หญิงตั้งครรภ์ไม่นอนพักผ่อนตอนกลางวันได้
แต่แนะนำให้นอนพักผ่อนให้เพียงพอ 8-10 ชั่วโมงเพื่อการพักผ่อนที่เพียงพอ
2.ไม่แนะนำให้หญิงหลังคลอดดื่มเหล้าสมุนไพรเนื่องจากอาจทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง
5.การประเมินผล
ผู้ป่วยได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและเข้าใจข้อมูลจากการที่พยาบาลแนะนำในเรื่องของการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองหลังคลอดได้
ความเชื่อเรื่อง ตั๊ว (Toas) :star:
ออกแบ่งเป็น 5 ตั๊ว
1.ตั๊วยำไนเกิดจากการกินอาหารต้องห้ามที่ถูก
จัดอยู่ในกลุ่มเย็น
2.ตั๊วซาไซ เกิดจากการทำงานหนักเร็วเกินไป
มีอาการจุกแน่น ไม่มีแรง กินไม่ได้นอนไม่หลับ
3.ตั๊วเคลิน เกิดจากการได้กลิ่นที่ทำให้เจ็บป่วย
4.ตั๊วอันเสิม เกิดจากการโดนฝนหรือน้ำค้างมีอาการมือชาเท้าชา ตัวเย็นนอนไม่ได้
5.ตั๊วตำแนก เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์เร็ว(ปกติต้องงดอย่างน้อย1เดือนหลังคลอด) มีอาการปวดหลัง ปวดกระดูก เป็นไข้ตัวร้อนซึม ไม่พูด ปวดศีรษะอ่อนเพลีย ผอม
:red_flag:
:red_flag:
:red_flag:
:red_flag: