Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ - Coggle Diagram
บทที่9
การส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ
1.ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
1.5 สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factor)
สังคมและวัฒนธรรมประเพณี รวมถึงการอบรมเลี้ยงดูในครอบครัวมีอิทธิพลต่อนิสัยการขับถ่ายของบุคคล
1.6 ลักษณะท่าทาง (Body position)
โดยปกติผู้ชายจะใช้ท่ายืนซึ่งพบว่าผู้ชายบางรายจะมี ปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะเมื่ออยู่ในท่านอนราบ
1.4 ด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
เช่น ความเครียดและความวิตกกังวลกระตุ้น ให้อยากถ่ายปัสสาวะบ่อยขึ้น
1.7 กิจกรรมและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Activity and Muscle tone)
2.ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้เป็นเวลานาน
3.สตรีในภาวะหมดประจำเดือน ฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง
1.การออกกำลังกายสม่ำเสมอ ทำให้การเผาผลาญอาหารเพิ่มขึ้น
4.ผู้ที่นอนอยู่บนเตียงนานๆ ร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว
1.3 ยา (Medication)
เช่น ยาที่ขับออกทางระบบปัสสาวะจะส่งผลให้สีของน้ำปัสสาวะ เปลี่ยนแปลง ยาที่มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติจะรบกวนการขับถ่ายปัสสาวะทำให้ปัสสาวะคั่ง
1.8 พยาธิสภาพ (Pathologic conditions)
พยาธิสภาพของโรคหลายชนิดมีผลต่อ การสร้างปัสสาวะทั้งปริมาณและคุณภาพ เช่น นิ่ว ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะหัวใจล้มเหลว
1.2 น้ำและอาหาร (Food and fluid)
2.จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสีย (Loss of body fluid)
เช่น การสูญเสียเหงื่อ มีไข้สูง ก็มีผลต่อลักษณะ จำนวนครั้ง และปริมาณปัสสาวะเช่นเดียวกัน
3.อาหารที่ร่างกายได้รับ (Food intake)
เช่น อาหารที่มีความเค็มมาก (มีปริมาณโซเดียม สูง) ปัสสาวะจะออกน้อยลงและเข้มข้นมาก เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนจะทำให้ปัสสาวะบ่อยขึ้น
1.จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
ถ้าร่างกายได้รับน้ำมากจำนวนครั้งของการ ขับถ่ายและปริมาณปัสสาวะก็จะมาก ลักษณะของปัสสาวะก็จะเจือจางตามปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ
1.9 การผ่าตัดและการตรวจเพื่อการวินิจฉัยต่างๆ (Surgical and diagnostic procedure)
2.การตรวจวินิจฉัยในระบบทางเดินปัสสาวะ
3.การฉีดยาชาที่ไขสันหลัง ส่งผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะของผู้ป่วย
1.ความเครียดและความวิตกกังวลในกระบวนการรักษาทำให้ร่างกายหลั่ง ADH
1.1อายุ หรือ พัฒนาการในวัยต่าง ๆ (Developmental growth)
1.วัยเด็ก
เด็กทารกกระเพาะปัสสาวะมีความจุน้อย การขับถ่ายปัสสาวะจึงบ่อยครั้งกว่า ผู้ใหญ่ เด็กวัยก่อนเรียนจะเริ่มควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้เองโดยจะควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะในตอนกลางวันก่อนกลางคืน
2.ผู้สูงอายุ
จากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายตามวัย เมื่อมีน้ำปัสสาวะเพียง 150-200 มิลลิลิตร กระเพาะปัสสาวะก็จะบีบตัวทำให้รู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะและทำให้ถ่ายปัสสาวะบ่อยครั้งขึ้น และ มักจะตื่นขึ้น
2.แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะและการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติ
2.1 แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ คนแต่ละวัยจะมีปัสสาวะที่ขับถ่ายออกมาในแต่ละครั้ง แตกต่างกัน
2.2 การขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติลักษณะการขับถ่ายปัสสาวะที่ผิดไปจากแบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
3.ส่วนประกอบของปัสสาวะที่ผิดปกติ
3.5 ปัสสาวะมีสีเหลืองน้ำตาลของบิลิรูบิน (Bilirubinuria หรือ Choluria)
หมายถึง ภาวะที่ ตรวจพบบิลิรูบินในน้ำปัสสาวะ โดย bilirubin เป็น Breakdown product ของ Hemoglobin ซึ่งปกติจะ ไม่พบในปัสสาวะ
3.6 ปัสสาวะมีสีดำของฮีโมโกลบิน (Hemoglobinuria)
หมายถึง ภาวะที่มีการสลายตัวของ เม็ดเลือดแดงทำให้เกิด Oxyhemoglobin หรือ Methemoglobin ในปัสสาวะ อาจเกิดจากการได้รับ เลือดผิดกลุ่ม
3.4 คีโตนในปัสสาวะ (Ketonuria)
หมายถึง ภาวะที่ตรวจพบคีโตนในน้ำปัสสาวะโดยคีโตนเป็น ผลจากการเผาผลาญไขมันให้เป็นพลังงาน แทนพลังงานที่ได้จากน้ำตาล
3.7 ปัสสาวะเป็นหนอง (Pyuria)
หมายถึง ภาวะปัสสาวะที่มีเซลล์หนอง เม็ดเลือดขาวในน้ำ ปัสสาวะบางครั้ง อาจพบมีแบคทีเรียร่วมด้วย
3.3 โปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria หรือ Albuminuria)
หมายถึง ภาวะที่มีโปรตีนหรือ แอลบูมิน ในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน ซึ่งในทางปฏิบัติอนุโลมใช้การตรวจโปรตีนในปัสสาวะ ในเชิงกึ่งปริมาณวิเคราะห์
3.8 นิ่วในปัสสาวะ (Calculi)
หมายถึง ภาวะที่มีก้อนนิ่วปนออกมากับน้ำปัสสาวะเนื่องจากมี การตกตะกอนของเกลือแร่ในร่างกาย
3.2 น้ำตาลในปัสสาวะ (Glycosuria)
หมายถึง ภาวะที่มีน้ำตาลปนออกมาในน้ำปัสสาวะ โดย คนปกติจะตรวจไม่พบน้ำตาลในปัสสาวะ เนื่องจากน้ำตาล ที่ Filtrate ผ่าน Glomerulus ทั้งหมดจะมีการ Reabsorb กลับที่ Proximal tubules
3.9 ไขมันในปัสสาวะ (Chyluria)
หมายถึง ภาวะปัสสาวะที่มีไขมันออกมาในน้ำปัสสาวะทำให้ เห็นปัสสาวะเป็นสีขาวขุ่น แยกสีขาวขุ่นจากหนองโดยการใส่อีเธอร์ลงในปัสสาวะ
3.1 ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
หมายถึง ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงปนออกมาในน้ำปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะเป็นสีแดงอาจเห็นชัดเป็นเลือดสดๆ
4. หลักการส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะ
4.4 การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
กรณีปัสสาวะไม่ออก พยาบาลควรให้การ ช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะด้วยวิธีการต่างๆ
4.5 สอนให้นวดกระเพาะปัสสาวะ
การนวดกระเพาะปัสสาวะเป็นเทคนิคที่ช่วยทำให้กระเพาะ ปัสสาวะว่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความบกพร่องที่ระบบประสาทควบคุมการถ่ายปัสสาวะ จน ทำให้มีปัสสาวะจำนวนมาก
4.3 ส่งเสริมให้กล้ามเนื้อทำงานอย่างเต็มที่
ถ้ากล้ามเนื้อภายในอุ้งเชิงกรานและช่องคลอดหย่อน สมรรถภาพ จะทำให้ปัสสาวะไม่ออกและกลั้นปัสสาวะไม่ได้
4.6 เสริมสร้างนิสัยของการถ่ายปัสสาวะ
เป็นวิธีที่ใช้สำหรับผู้ป่วยที่มีความบกพร่องเกี่ยวกับ ความรู้ความเข้าใจในช่วงเวลาถ่ายปัสสาวะที่ยาวนานมาก
4.2 ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เป็นการติดเชื้อที่พบได้บ่อยที่สุดในโรงพยาบาล
4.7 การช่วยเหลือผู้ป่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
กรณีที่ไม่สามารถไปห้องน้ำได้พยาบาลอาจ ต้องนำหม้อนอน (Bedpan)
4.1 ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ในผู้ใหญ่ควรได้รับน้ำสะอาด อย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว หรือประมาณ 1,500-2,000 มิลลิลิตร อาจต้องเพิ่มขึ้นให้สัมพันธ์กับจำนวนน้ำที่สูญเสีย ออกจากร่างกาย
5. การสวนปัสสาวะ
5.1 วัตถุประสงค์ของการสวนปัสสาวะ
4.เพื่อเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ
5.เพื่อสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ หรือใส่ยาในกระเพาะปัสสาวะ
3.เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่เหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะ
6.เพื่อศึกษาความผิดปกติของท่อปัสสาวะ
2.เพื่อช่วยให้กระเพาะปัสสาวะว่างในผู้ป่วยที่ต้องทำหัตถการต่างๆ
7.เพื่อตรวจสอบจำนวนน้ำปัสสาวะที่ขับออกมาในผู้ป่วยอาการหนักอย่างถูกต้อง
1.เพื่อระบายเอาน้ำปัสสาวะออกในผู้ป่วยที่ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะเองได้
5.2 ชนิดของการสวนปัสสาวะ
1.การสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว (Intermittent catheterization)
เป็นการใส่สายสวน ปัสสาวะผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
2.การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling catheterization or retained catheterization)
เป็นการสอดใส่สายสวนปัสสาวะชนิด Foley catheter
5.3 อุปกรณ์
3.สารหล่อลื่นสายสวนชนิดละลายน้ำได้ เช่น KY-jelly เป็นต้น
4.น้ำกลั่นปลอดเชื้อ (Sterile water) และน้ำยาทำลายเชื้อ (Antiseptic solution)
2.ชุดสวนปัสสาวะที่ปราศจากเชื้อ (Sterile catheterization set)
5.กระบอกฉีดยาปลอดเชื้อ (Sterile syringe) ขนาด 10 มิลลิลิตร 1 อัน
1.ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ 1 ชุด หม้อนอน ถุงมือสะอาด 1 คู่ ถุงกระดาษหรือ ถุงพลาสติกสำหรับทิ้งสำลีใช้แล้ว
6.Transfer forceps
7.ถุงรองรับปัสสาวะปลอดเชื้อและเป็นระบบปิด (Sterile urine bag) 1 ใบ
8.โคมไฟ หรือไฟฉาย
9.พลาสเตอร์, เข็มกลัด, ผ้าปิดตา
10.สายสวนปัสสาวะ การเลือกใช้สายสวนปัสสาวะควรพิจารณาวัตถุประสงค์ของการใช้งาน และขนาดของสายสวนปัสสาวะ
5.4 วิธีการสวนปัสสาวะ
1.การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (Indwelling หรือ Retention catheter)
2.การถอดสายสวนปัสสาวะที่คาไว้ (Removing Indwelling or Retention catheters)
8. กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
8.2 การวินิจฉัยทางการพยาบาล
จากข้อมูลของกรณีตัวอย่างร่วมกับข้อมูลสนับสนุนที่ได้จาก การประเมินสามารถกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
8.3 การวางแผนการพยาบาล
และการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อลดการติดเชื้อในระบบทางเดิน ปัสสาวะของผู้ป่วย
8.1 กระประเมิน
การซักประวัติแบบแผนและลักษณะการขับถ่ายปัสสาวะปกติ จำนวนครั้งใน 24 ชั่วโมง ลักษณะและสีของปัสสาวะ
8.4 ประเมินผลการพยาบาล
ภายหลังให้การพยาบาลควรมีการประเมินทุกครั้งตามเกณฑ์ การประเมินผล เช่น ปัสสาวะสีเหลืองใสไม่มีตะกอน สัญญาณชีพปกติ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่พบเชื้อ
7. การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
7.2 วิธีการเก็บปัสสาวะจากสายสวนปัสสาวะที่คาไว
2.เตรียม Syringe sterile เข็มปลอดเชื้อ Sterile swab น้ำยาฆ่าเชื้อ
3.ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด เช็ดบริเวณที่จะเก็บปัสสาวะด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
1.ใช้Clamp หนีบสายสวนปัสสาวะที่ใต้รอยต่อระหว่างสายต่อของถุงกับสายสวนไว้นาน ประมาณ 15–30 นาทีเพื่อให้มีปัสสาวะใหม่เก็บอยู่ก่อน
4.ใช้กระบอกฉีดยาที่มีเข็มปลอดเชื้อแทงที่สายสวนปัสสาวะตรงตำแหน่งที่ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อไว้แล้ว
7.3 วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เป็นการเก็บปัสสาวะที่มีการรวบรวมไว้จนครบ 24 ชั่วโมงแล้ว ส่งตรวจ เริ่มเก็บปัสสาวะเวลา 08.00 น. โดยให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะทิ้งก่อนเริ่มเก็บ และรวบรวม น้ำปัสสาวะที่เก็บได้หลัง 08.00 น. จนครบกำหนด 24 ชั่วโมง แล้วถ่ายปัสสาวะเก็บเป็นครั้งสุดท้าย
7.1 วิธีการเก็บปัสสาวะแบบรองเก็บปัสสาวะช่วงกลาง (Clean mid-stream urine)
โดย ให้ผู้ป่วยทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำสะอาด ล้างมือให้สะอาด และเช็ดให้แห้ง ให้ ปัสสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย
6. หลักการพยาบาลผู้ป่วยได้รับการใส่ถุงยางอนามัยเพื่อระบายปัสสาวะ (Condom catheter)
การใส่ถุงยางอนามัย เป็นการระบายปัสสาวะภายนอก ในผู้ชายให้ปัสสาวะไหลไปตามท่อลงสู่ ภาชนะหรือถุงรองรับปัสสาวะ การใส่ถุงยางอนามัยจะพิจารณาผู้ที่มีปัญหา ไม่สามารถควบคุมการขับถ่าย ปัสสาวะ
6.1 วัตถุประสงค์
2.ป้องกันการเกิดแผลกดทับในรายที่ต้องรักษาตัวนาน ๆ
3.ป้องกันการติดเชื้อจากการใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้
1.เพื่อรักษาความสะอาด และป้องกันการระคายเคืองของผิวหนัง เนื่องจากเปียกปัสสาวะ บ่อย ๆ
4.ป้องกันการอักเสบในรายที่มีแผล