Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสำรวจพฤติกรรมผู้บริโภค - Coggle Diagram
การสำรวจพฤติกรรมผู้บริโภค
ความหมาย
การศึกษา กระบวนการ+กิจกรรม ที่คน/กลุ่มคนเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลือก/ซื้อ/ใช้/ประเมิน/บริการหลังการใช้ -->ตอบสนองความต้องการ+ทำให้เกิดความพึงพอใจ
ขั้นตอนการทำการสำรวจพฤติกรรมผู้บริโภค
1. กำหนดวัตถุประสงค์
ชัดเจน/เฉพาะเจาะจง
สอดคล้องกับประเด็นที่กำลังศึกษา
2. ข้อมูลที่ต้องการทราบ
ประชากรศาสตร์
เพศ
อายุ
รายได้
อาชีพ
ระดับการศึกษา
ลักษณะครอบครัว
พฤติกรรมของผู้บริโภค
พฤติกรรมการบริโภค/ใช้ผลิตภัณฑ์
ประโยชน์ที่ได้รับ
พฤติกรรมการซื้อ
ลักษณะผลิตภัณฑ์
ยี่ห้อ
ราคา
ความถี่
ประเภท/ชนิดผลิตภัณฑ์
ปัญหาในการใช้/บริโภค
ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่จะพัฒนา
ตลาดกลุ่มเป้าหมาย
สัดส่วนของผู้บริโภคในกลุ่มเป้าหมายท/ผบู้ริโภคที่จะซื้อผลิตภัณฑ์
ลักษณะผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคต้องการ
ลักษณะการบริโภค/การใชผ้ลิตภัณฑ์
ประโยชน์ที่ผู้บริโภคต้องการได้จากผลิตภัณฑ์
ราคาที่ผู้บริโภคคิดว่าเหมาะสม
สิ่งที่ได้จากข้อมูล
ลักษณะ/รูปแบบผลิตภัณฑ์
ทิศทางในการพัฒนา
ขนาดตลาด/ความคุ้มค่าที่จะพัฒนา
3. วางแผนการดำเนินการ
ค่าใช้จ่าย
กำหนดเวลา
4.กำหนดขนาดตัวอย่างผู้บริโภค
ทราบจำนวนประชากร
n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
N = ขนาดประชากร
e = ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่าง
ไม่ทราบจำนวนประชากร
n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
Z = ระดับความเชื่อมันที่ระดับ 95% (Z มีค่าเป็น 1.96)
p = โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์หรือสัดส่วนของคุณลักษณะที่สนใจในกลุ่มตัวอย่าง
q = โอกาสที่จะไม่เกิดเหตุการณ์ซึ่งเท่ากับ 1-p ในกรณีของกลุ่มตัวอย่าง
e = ค่าเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนจากกลุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้
5.ออกแบบสอบถาม
ปัจจัยที่ต้องพิจารณา
ความอดทนของผู้บริโภค
ลำดับคำถาม
ข้อจำกัดต่างๆ
วิธีวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลที่ต้องการ
การออกเเบบสอบถาม
ส่วนทีี่ 1 ข้อมูลทางประชากรศาสตร์
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้บริโภค
ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่จะพัฒนา
ประเภทคำถาม
วัดความเข้าใจ
วัดทัศนคติ
กิจกรรม/พฤติกรรม
ประชากรศาสตร์
ลักษณะคำถาม
ปลายเปิด
ปลายปิด
ชนิดคำถาม
ถามแบบอ้อม
ใช้บุคคลที่ 3
สัมพันธ์ความหมายของคำ = อ่าน/ฟัง สิ่งเเรกที่นึกเเล้วเขียนลงไป
ต่อประโยค
ใช้ภาพการ์ตูน
ถามตรงๆ
เลือกตอบ 2 ข้อ
เลือกตอบได้หลายข้อ
ตอบแบบอิสระ
Demographic question
อายุ
เพศ
รายได้
ลักษณะครอบครัว
แบบสอบถามที่ดี
ทำแบบสอบถามให้สั้นที่สุด (15-20 คำถาม)
ถามกับตัวแทนผู้บริโภค
เลี่ยงข้อความกำำวม
เริ่มด้วยคำถามที่สั้น/ตอบง่าย
ใช้คำเข้าใจง่าย
ถามยากไว้ท้ายแบบสอบถาม
ชัดเจน
6. ทดสอบเเบบสอบถาม/ทดสอบกลุ่มเป้าหมาย
ขนาดตัวอย่าง
ค่าใช้จ่าย
ความเชื่่อถือได้ทางสถิติ
ความเเตกต่างของประชากร
ระดับความผิดพลาดที่ยอมให้มี
การเลือกผู้บริโภค
จากประชากรทั้งหมด
ได้ผลดี-ผลิตภัณฑ์ไม่สามารถกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่เเน่นอนได้
ใช้ขนาดตัวอย่างที่ใหญ่
เฉพาะกลุ่มที่สนใจ
ยากต่อการคัดเลือกผู้บริโภคเเบบสุ่ม
7. อบรม/ฝึกฝนผู้สัมภาษณ์
8. สอบถามผู้บริโภค
9. รวบรวมข้อมูลใส่ในตาราง
การหาค่าความเชื่อมั่น/ความเที่ยง
a = สัมประสิทธ์แอลฟา
K = จำนวนข้อคำถาม
= ผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนแต่ละข้อ
= ความแปรปรวนของคะแนนรวม
10. วิเคราะห์/สรุปผล
วิเคราะห์
การวิเคราะห์ผล
ความถี่/คิดเปอร์เซ็น
ค่าเฉลี่ย
ความสัมพันธ์(ค่าไคเเสควร์)
วิเคราะห์โดยใช้สถิติขั้นสูง
ขั้นตอนการวิเคราะห์
ลงรหัส/ตรวจความถูกต้องค่าตัวแปร
เตรียมตารางเสนอผล
ตรวจสอบแบบสอบถาม
Key ข้อมูลลง File ข้อมูล
วิเคราะห์หาค่าสถิติ
ตรวจสอบตารางผล+แปลความหมาย
สรุปผล
ประเด็นสำคัญ
แนวทางการนำข้อมูลไปใช้
ตามวัตถุประสงค์
11.รายงาน
การแบ่งส่วนตลาด
ประเภทการแบ่งส่วนตลาด
ตามลักษณะบุคคล
ด้านประชากรศาสตร์
ด้านพฤติกรรม
ด้านภูมิศาสตร์
ด้านจิตวิทยา
ตามการตอบสนองต่อผลิตภัณฑ์
ประโยชน์/การใช้
ความซื่อสัตย์-->ยี่ห้อ
ข้อดี
วางแผนการตลาดได้
แยกข้อดี-ด้อยของสินค้าได้
รู้สิ่งที่กลุ่มเป้าหมายต้องการ
ใช้นโยบายการตลาดได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย+มีประสิทธภาพ
วิเคราะห์/ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้