Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สังคมชมพูทวีป, นางสาวพรธิระมน เกษกุล เลขที่25 ม6/3 - Coggle Diagram
สังคมชมพูทวีป
ลักษณะทางศาสนา
มิลักขะ
มีดินแดนเป็นของตนเอง ใช้พื้นดินทำการเกษตร
สิ่งเคารพต้องมาจากดิน
เทพเจ้า:นาค
อารยัน
ถือฟ้าเป็นบ้าน เนื่องจากตนเป็นชนเผ่าเร่ร่อน
สิ่งเคารพต้องมาจากฟ้า
เทพเจ้า:พระอินทร์
การประสานความเชื่อของศาสนาพราหมณ์
คนในชมพูทวีปพระพรหมก็ได้กำหนดวิถีชีวิตให้มีหน้าที่ต่างกันในสังคม โดยแบ่งเป็นวรรณะ
เรียกว่าเป็น พรหมลิขิต
พระพรหมณ์สร้างโลก
ความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย
สัสสตทิฏฐิ
ตายแล้วเกิดเคยเกิดในวรรณะใดไม่ว่าชาติไหนๆก็จะเกิดในวรรณะเดิม
อุจเฉททิฏฐิ
ตายแล้วขาดสูญชีวิตนี้มีชีวิตเดียว ตายแล้วสูญสิ้น ไม่เวียนว่ายตายเกิด ตายแล้วตายเลย
ก่อให้เกิดการดำเนินชีวิต 2 กระแส
2.การทรมานตนเพื่อหวังผลให้มีความสุขหลังความตาย
1.แสวงหาความสุขบำรุงบำเรอตนทางกายในปัจจุบัน
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ชมพูทวีป คือ ดินแดนเป็นแดนเกิดของพระพุทธศาสนาปัจจุบัน อยู่ทางตอนใต้ของเทือกเขาหิมาลัย
มัชฌิมชนบท/มัธยมประเทศ
เป็นเขตที่อยู่ของชนชาติอริยกะ/อารยัน
ปกครองส่วนกลางของประเทศ
ปัจจันตชนบท/ปัจจันตประเทศ
เป็นเขตที่อยู่ของมิลักขะ
ปกครองชายแดนของประเทศ
ลักษณะทางสังคม
การแบ่งกลุ่มของประชากร
มิลักขะ
ศูทร
กรรมกร
ลูกจ้าง
จัณฑาล
ช่างซ่อมรองเท้า
คนกวาดถนน
คนล้างส้วม
อารยัน
พราหมณ์
นักบวช
กษัตริย์
พระเจ้า
แผ่นดิน
นักรบ
แพศย์
พ่อค้า
คหบดี
เศรษฐี
เกษตร
การปกครอง
ราชาธิปไตย/สมบูรณาญาสิทธิราชย์
แคว้นมคธ
คณาธิปไตย/สามัคคีธรรม/สาธารณรัฐ
แคว้นมัลละ
แคว้นวัชชี
แคว้นวัชชี แคว้นสักกะ
ความเชื่อเรื่องวรรณะ
วรรณะพราหมณ์
พระโอษฐ์(ปาก)
สีขาว
วรรณะกษัตริย์
พระอุระ(อก)
สีแดง
วรรณะแพศย์
พระเพลา(ตัก)
สีเหลือง
วรรณะศูทร
พระบาท(เท้า)
สีดำ/ไม่สดใส
จัณฑาล
เป็นชนชั้นนอกชั้นวรรณะ
ลักษณะทางประชากร
มิลักขะ
แปลว่าพวกป่าเถื่อน/ล้าหลัง
ชนพื้นเมืองดั้งเดิมมีรูปร่างลักษณะผิวดา ผมดำ จมูกแบน ตาพอง
อารยัน/อริยกะ
ชนผิวขาวเดินทางจากเอเชียกลางเข้ามาทางตะวันตกเฉียงเหนือขับไล่รุกรานชนพื้นเมืองลงไปทางตอนใต้
แปลว่า ผู้เจริญ
นางสาวพรธิระมน เกษกุล เลขที่25 ม6/3