Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
การเรียกชื่อยา
❑ ชื่อสามัญทางยา (Generic Name)
จัดเป็นชื่อที่สำคัญที่สุดในทางเภสัชศาสตร์เพราะเป็นชื่อที่ถูกตั้งเพื่อเป็นมาตรฐานในการสื่อกัน
❑ ชื่อทางเคมี (Chemical Name)
เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นตามระบบวิธีตั้งชื่อ ทาง
วิทยาศาสตร์ จากชื่อนี้สามารถแสดงให้เห็นว่า ยานั้นมีโครงสร้างอย่างไร
❑ ชื่อทางการค้า (Trade Name)
เป็นชื่อที่บริษัทผู้ขายตั้งขึ้นเองเพื่อให้เรียกง่าย
น่าสนใจ และใช้ในการโฆษณา
แนวคิดและขั้นตอนในการพัฒนาและผลิตยา
Preclinical trial (การศึกษาวิจัยในสัตว์ทดลอง)
การเกิดพิษ (toxicity) ระยะสั้น และระยะยาว
การก่อให้เกิดมะเร็ง(carcinogenicity)
การทำให้เกิดทารกในครรภ์พิการ (teratogenicity)
clinical trial (การศึกษาวิจัยในคน)
Phase I อาสาสมัครชายสุขภาพดี 20-80 คน: คุณสมบัติทาง
จลนศาสตร์ของยา ผลการรักษา และการเกิดพิษ
Phase II ผู้ป่วย 50-300 คน :เพื่อหาประสิทธิภาพและความ
ปลอดภัยเพื่อกำหนดขนาดและวิธีใช้ยา
Phase III ผู้ป่วย 250-1000 คน เพื่อหาประสิทธิภาพและความ
ปลอดภัย โดยอาจเทียบกับยาที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
Phase IV : post marketing Surveillance
แหล่งที่มาของยา
ยาที่ได้จากธรรมชาติ
ยาที่ได้จากพืช (drug from plants) ได้แก่ยาที่ได้จากส่วนต่าง ๆ ของพืช
เช่น ราก ลำต้น ใบ เปลือก แก่น ผล เมล็ด
ยาที่ได้จากสัตว์ (drug from animals) เช่น
Heparin ได้จากการสกัดจากปอดวัว และเยื่อบุลำไส้หมู เป็นต้น
ยาที่ได้จากแร่ธาตุ (drug from minerals) เช่น Iodine tincture Kaolin (ดินขาว)
สารกึ่งสังเคราะห์ (Semi-synthetic substances)
ยาที่ได้มาจากสารจากธรรมชาติแต่นำมาดัดแปลงโครงสร้างทางเคมี
สารสังเคราะห์ (Synthetic substances)
เป็นการสังเคราะห์โดยเลียนแบบสารที่ได้จากธรรมชาติ เพื่อลดต้นทุนการผลิต
หรือการคิดค้นสารใหม่ โดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและฤทธิ์ของยา(structure activity relationship)
ยาที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotecnology drugs)
ยาเตรียมรูปแบบต่างๆ( Pharmaceutical dosage form)
ตัวยาหลัก (Active ingredient) ( >1)
ออกฤทธิ์ในการรักษา
สารปรุงแต่งยา (Excipients)
แตกต่างกันไปแล้วแต่ตำรับยา
ช่วยเพิ่มความคงสภาพของตัวยาสำคัญ
ช่วยรักษาความเป็นกรด-ด่าง เช่น buffer ในยาหยอด
ตา
ช่วยในการเตรียมตำรับได้ง่ายขึ้น
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา
ยาเหน็บทวาร (suppository)
ยาสวนทวาร (Enema)
ยาเม็ดสำหรับเหน็บช่องคลอด (vaginal tablet )
ยาฝัง (implant)
ยาพ่น (inhaler)
ยาแผ่นแปะผิวหนัง
(Transdermal patch )
ยาเตรียมรูปแบบของแข็ง (Solid dosage form)
ยาเม็ด (tablet)
ยาเม็ดเคลือบน้ำตาล (sugar coating tablet)
ยาเม็ดเคลือบฟิล์ม(films coating tablet)
ยาเม็ดอม (troche, lozenge )
ยาเม็ดอมแบบนิ่ม (pastilles)
ยาเม็ดอมใต้ลิ้น (sublingual )
ยาเม็ดฟู่ (effervescent tablet )
ยาผงฟู่ (effervescent granule )
ยาลูกกลอน (pills)
แคปซูลชนิดเปลือกแข็ง (hard gelatin capsule)
แคปซูลชนิดนิ่ม (soft gelatin capsules)
ยาผง (Dusting powder)
หลักการใช้ยาให้ปลอดภัย
Right drug คือ การให้ยาถูกต้องตามชนิดและประเภท
Right patient คือ การให้ยาถูกคน
Right dose คือ การใช้ยาถูกต้องตามที่กำหนดเอาไว้
Right route/right method คือ การใช้ยาถูกตามวิถีทางที่ให้ เพื่อที่ยาจะได้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
Right time คือ การให้ยาถูกเวลา
ยาเตรียมรูปแบบของเหลว (liquid dosage form)
ยาน้ำเชื่อม
ยาอิมัลชัน
ยาน้ำแขวนตะกอน
(บางชนิดผสมน้ำก่อนใช้)
ยาเตรียมรูปแบบกึ่งแข็ง (liquid dosage form)
ยาครีม
ยาขี้ผึ้ง
เพสต์(paste)
ยาปราศจากเชื้อ (sterile product)
ยาฉีด (parenteral preparations)
ยาสำหรับใช้เฉพาะที่ เช่น ตา หู จมูก (Eye-ear-nose preparation )
ยาเคมีบำบัด (cytotoxic preparation)
อยู่ในรูปแบบยาฉีด เช่น doxorubicin, Vincristine sulfate
ยาเตรียมกัมมันตรังสีหรือเภสัชรังสี
(Radiopharmaceutical preparation) ใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรค
ชีวผลิตภัณฑ์ (biological products) เลือดและผลิตภัณฑ์จากเลือด วัคซีน (vaccine) ซีรั่ม (serum) ทอกซอยด์(toxoid)
สารที่ใช้ป้องกันการแข็งตัวของเลือด (anti-coagulant solution)
สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำ (total parenteral Nutrition, TPN or partial parenteral nutrition , PPN)
ยาปราศจากเชื้ออื่น ๆ
น้ำยาที่ใช้สำหรับการล้างไต (intraperitoneal dialysis)
น้ำยาทำความสะอาดแผล
ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารยา
ตำแหน่งของยาที่จะออกฤทธิ์ หากต้องการลดกรดในกระเพาะอาหารจะต้องให้ยาที่อยู่ในรูปของการรับประทาน
สภาวะของผู้ป่วยต้องดูว่าผู้ป่วยอยู่ในสภาวะที่รับประทานยาได้หรือไม่และจะต้องให้ยาโดยวิธีใดทดแทน
วิธีการบริหารยา
Enteral administration การให้ยาโดยผ่านทางเดินอาหาร
oral วิธีรับประทานเป็นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุด เนื่องจาก ง่าย สะดวก ปลอดภัย
sublingual ตัวยาถูกดูดซึมผ่านเยื่อเมือกในช่องปากเข้าสู่หลอด เลือดดำและเข้าสู่ superior vena cava โดยไม่ผ่านกระเพาะอาหารและลำไส้
Rectal administration ยาที่ให้ทางทวารหนักอาจให้ในรูปยาเหน็บ (suppositories) หรือยา สวนทวาร (enemas)
Parenteral administration
เข้าหลอดเลือดดำ/เข้าเส้น (Intravenous) IV
เข้าใต้ผิวหนัง (Subcutaneous) SC
เข้ากล้ามเนื้อ (Intramuscular) IM
เข้าเส้นเลือดแดง (intra-arterial) IR
ข้าใต้สันหลัง (Intrathecal) เช่น spinal block
เข้าข้อกระดูก (Intraarticular) IA