Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเทศจีน🌼🌷🌻🌺, image, image, image, image, image, image, image, image,…
ประเทศจีน🌼🌷🌻🌺
รสทั้งห้าของอาหาร
-
อาหารรสนี้ได้แก่ ขิง กระเทียม ฮวยเจีย กุ้ยพวย กานพลู
รสหวาน (รวมรสจืด) เป็นอาหารจำพวกหยาง ช่วยปรับโจงชี่ให้สมดุล มักใช้บำบัดม้าม
-
-
อาหารรสขมได้แก่ เก๋ากี้ ผักขม มะระ
รสเค็ม เป็นอาหารจำพวกหยิน ช่วยระบาย และขับของเหลวในร่างกาย บำรุงไต และเลือด
-
การกินตาม
หยิน– หยาง
-
หยางพร่อง
เกิดจากความอบอุ่นหรือไฟในร่างกายน้อยลง ข้างในจึงเย็น มีอาการฝ่ามือ – ฝ่าเท้าเย็นหนาวง่าย ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน หน้าตาซีดเซียว
-
-
-
-
-
อาหารประจำธาตุ
-
อาหารประจำธาตุไฟ
ได้แก่ อาหารที่มีสีแดง เช่น ทับทิมเรดเบอร์รี่ สตรอว์เบอร์รี่ เห็ดหลินจือแดง ตลอดจนอาหารรสขม เช่น สะเดา มะระ
-
อาหารประจำธาตุไม้
สีเขียวเหลืองตามสีของน้ำดีจากตับ ตลอดจนอาหารรสเปรี้ยว อาหารกลุ่มนี้ช่วยบำรุงตับ เส้นเอ็น และดวงตา เหมาะกับคนธาตุไม้ที่มักมีอาการเส้นเอ็นอักเสบบ่อยๆ
-
วัฒนธรรรมจีน
-
ประเทศจีน ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับว่าเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดของทวีปเอเชีย
มีพรมแดนติดต่อประเทศต่าง โดยรอบ 15 ประเทศ
เกาหลีเหนือ รัสเซีย มองโกเลีย คาซัคสถาน เคอร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย เนปาล สิกขิม ภูฐาน พม่า ลาว และเวียดนาม
ประเพณีจีน
เป็นเทศกาลที่ถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยอดีตมาจนถึงปัจจุบัน ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อ อันเป็นจุดกำเนิดของชาวจีน
เช่น เทศกาลกินเจ จุดประสงค์ของการกินเจ
อาหารจีน
-
-
อาหารบ่งชี้ชนชั้น
-
มันจึงยังเป็นการแสดงสถานะทางสังคมรูปแบบหนึ่งในวัฒนธรรมจีน อาหารจึงเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจและสถานะทางสังคม แสดงถึงตัวตนของผู้กิน
การแพทย์และยาแผนจีน
คนจีนมีความเชื่อพื้นฐานว่ามนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติซึ่งประกอบขึ้นจากธาตุหยินและหยาง หากสภาพความสมดุลของหยินและหยางถูกทำลาย ก็ย่อมทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บขึ้น ด้วยเหตุนี้การวินิจฉัยโรคของการแพทย์แผนจีน
ดังนั้นการวินิจฉัยและรักษาโรค จะพิจารณาจากปัจจัยรอบด้านและให้ความสำคัญกับแนวคิดองค์รวมของร่างกายเป็นสำคัญวิธีการรักษาของการแพทย์แผนจีน
การรักษาภายในด้วยการรับประทานยาและการรักษาภายนอกด้วยยาทา นอกจากนี้ยังมีวิธีการรักษาโดยไม่ใช้ยาแบบอื่น เช่น
การฝังเข็ม ทฤษฎีพื้นฐานของวิชาการฝังเข็มก็คือทฤษฎีเส้นทางการไหลเวียนของเลือดลมภายในร่างกาย
-
-
ทฤษฏีหยิน – หยาง
-
- โรคหยาง เป็นโรคชนิดเฉียบพลัน
- โรคหยิน เป็นโรคชนิดเรื้อรัง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-