Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนในประเทศไทย, น้ำเสีย, แหล่งกำเนิดน้ำเสีย, ชุมชน,…
ระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนในประเทศไทย
หมายถึง ของเสียที่อยู่ในสภาพที่เป็นของเหลว รวมทั้งมวลสารที่ปะปนหรือปนเปื้อนอยู่ในของเหลวนั้น
เกิดจากการทำกิจกรรมประจำวัน ที่อยู่อาศัยในชุมชน และการประกอบอาชีพ โดยน้ำเสียจะเกิดจากการอุปโภค-บริโภค การชำระล้าง การซักล้าง การประกอบอาหาร ซึ่งน้ำเสียประเภทนี้มักมีสารอินทรีย์ แบคทีเรีย น้ำมันและไขมันปนเปื้อน
เกิดจากสิ่งเจือปนอยู่ในรูปของสารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้น้ำ การใช้ปุ๋ยเคมี และการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลงต่างๆ
เกิดจากลักษณะอุตสาหกรรมโดยปกติน้ำเสียมักเกิดจากการล้างวัตถุดิบ กระบวนการผลิต กระบวนการหล่อเย็น กระบวนการต้มระเหย นอกจากนี้ยังมีน้ำเสียจากสำนักงาน อาคารที่พัก โรงอาหาร เป็นต้น
ได้แก่ ไวรัส โปรโตซัว แบคทีเรีย เป็นจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีวิต ทำให้ระดับออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำลดลง
ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เช่น เศษข้าว พืชผัก ชิ้นเนื้อ ซึ่งสามารถถูกย่อยสลายได้โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ทำให้ระดับออกซิเจนในน้ำลดลงเกิดสภาพเน่าเหม็น เมื่อค่า BOD : Biochemical Oxygen Demand ในน้ำสูงแสดงว่ามีสารอินทรีย์ปะปนอยู่มากและสภาพเน่าเหม็นจะเกิดขึ้นได้ง่าย
เช่น เกลือของโลหะ ค่าความเป็นกรด-ด่าง และแร่ธาตุต่างๆ
เกิดจากการระบายน้ำหล่อเย็น ทำให้อุณหภูมิของแหล่งน้ำสูงขึ้น ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลง และมีผลกระทบต่อสัตว์น้ำ พืชน้ำ
ซึ่งเป็นอาหารหลักของพืช อาจปะปนอยู่ในน้ำทิ้ง น้ำเสียที่ออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือการชะล้างจากกิจกรรมทางเกษตรกรรม
ทำให้ออกซิเจนจากอากาศละลายลงสู่น้ำได้น้อยลง ส่งผลต่อสัตว์น้ำและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ระบบเอ็กดิเวเต็ดสลัดจ์(Activeted sludge : AS)
ระบบบ่อปรับเสถียร (Stabilization pond : SP)
ระบบแผ่นหมุนชีวภาพ (Rotating biological contactor : RBC)
ระบบบึงประดิษฐ์ (Constructed wetland : CW)
ระบบสระเติมอากาศ (Aerated legoon : AL)
ระบบรวบรวมน้ำเสียแบบรวม (Combined system)
ระบบรวบรวมน้ำเสียแบบแยก (Separate system)
ตรวจทุกวัน ได้แก่ ความเป็นกรดด่าง (pH 5.5-9), อุณหภูมิ(Temp ไม่เกิน 40 c) และออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DOมากกว่า 2 mg/l)
ตรวจอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ได้แก่ BOD <20 mg/l, COD <120 mg/l และSS <30 mg/l
ตรวจอย่างน้อย 1 ครั้งต่อเดือน ได้แก่ Fat,Oil and Grease <5 mg/l, Total Nitrogen <20 mg/l และTotal Phosphorus <2 mg/l
ประสานงานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทำลายแหล่งก่อปัญหาจากสิ่งแวดล้อม
ให้การรักษาพยาบาลโรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม
ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
น้ำเสีย
แหล่งกำเนิดน้ำเสีย
ชุมชน
เกษตรกรรม
โรงงานอุตสาหกรรม
สิ่งเจือปนในน้ำเสีย
จุลินทรีย์
สารอินทรีย์ต่างๆ
สารอนินทรีย์
สารประกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรัส
ความร้อน
น้ำมันและสิ่งสกปรก
ระบบรวบรวมน้ำเสีย
รูปแบบของระบบบำบัดน้ำเสีย
แผนการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
บทบาทหน้าที่การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมของพยาบาล
นางสาวฐิติมาภรณ์ ภักดียา เลขที่ 19 ห้อง A