Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Left Basal ganglion Hemorrhage เลือดออกในบริเวณสมอง Basal ganglia ข้างซ้าย…
Left Basal ganglion Hemorrhage
เลือดออกในบริเวณสมอง Basal ganglia ข้างซ้าย
ข้อมูลส่วนตัว
สิทธิค่ารักษาพยาบาล
สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
วินิจฉัย
Left Basal ganglion Hemorrhage
สถานภาพ
สมรส
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ล้มศรีษะกระเเทกพื้น ซึมลง 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 51 ปี เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
โรคประจำตัว
เบาหวาน, ความดัน
พยาธิสภาพ
หลอดเลือดสมองแตก เกิดจากภาวะความดันโลหิตสูงทำให้เส้นเลือดบริเวณนั้นโป่งพองและแตกออก หรืออาจเกิดจากหลอดเลือดเสียความยืดหยุ่นจากการสะสมของไขมันในหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดปริแตกได้ง่าย ซึ่งอันตรายมากเนื่องจากทำให้ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงสมองลดลงอย่างฉับพลันและทำให้เกิดเลือดออกในสมอง
สาเหตุ
หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือมีลิ้นหัวใจผิดปกติ
โรคเบาหวาน
การสูบบุหรี่จัดและการดื่มสุราเป็นประจำ
Accident ของศรีษะอย่างรุนเเรง
ความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุของภาวะเลือดออกในสมองที่พบได้บ่อยที่สุด โดยความดันโลหิตที่สูงอยู่เป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิดการทำลาย endothelial lining และเกิด lipohyalinosis ในหลอดเลือดที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50-200 μm จนในที่สุดเกิดพยาธิสภาพที่เรียกว่า “Charcot-Bouchard aneurysms” ซึ่งเป็น truly arteriolar dissections หาก aneurysms นี้แตก จะทำให้เกิดภาวะ “Hypertensive intracerebral hemorrhages” โดยมักพบในตำแหน่งที่เป็น deep locations
การวินิจฉัย
การตรวจสมองด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (computerized tomography)
การตรวจสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (magnetic resonance imaging)
อาการ
ปวดหัวรุนแรงขึ้นมาเฉียบพลัน
มีอาการชัก โดยไม่เคยมีประวัติโรคลมชักมาก่อน
คลื่นไส้หรืออาเจียนอย่างรุนแรง
แขนหรือขาอ่อนแรงเฉียบพลัน
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว สับสน เพ้อ ไม่ตอบสนอง มีการตื่นตัวน้อยลง เซื่องซึม
สูญเสียการทรงตัวและการประสานงานกันของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
ตาพร่ามัว การตอบสนองของรูม่านตาไม่เท่ากัน
พูดสื่อสารไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูด มีปัญหาในการเขียนหรืออ่านหนังสือ
กลืนลำบาก ลิ้นรับรสชาติผิดแปลกไปจากปกติ
เวียนศีรษะ
ความดันโลหิตสูง
อาการปวดคล้ายเข็มทิ่มหรือชา
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดเล็กมีปัญหา เช่น มีอาการมือสั่น
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP) เนื่องจากมีเลือดออกในสมองด้านขวา
เสี่ยงต่อการชักเนื่องจากพยาธิสภาพของโรค
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจเนื่องจากมีท่อเจาะคอ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้
แผลกดทับ
ข้อติดเเข็ง
ปอดแฟบ
ท้องผูก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากความดันโลหิตสูง
อาการเเละอาการแสดงปัจจุบัน
วันที่ 18 สิงหาคม 2563 ผู้ป่วยมีอาการซึม ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ประเมิน Glasgow Coma Scale = E 4 ลืมตาได้เอง V T (on tracheostomy tube) M = 4 ขยับขาได้หนีเมื่อโดนสัมผัส ประเมิน Motor power = 2 ขยับแขนขาได้บนพื้นแต่ยกขึ้นไม่ได้ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2563 มีความรู้สึกตัวดี ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ประเมิน Glasgow Coma Scale = E 4 ลืมตาได้เอง V T (on tracheostomy tube) M = 6 สามารถทำตามคำสั่งได้ประเมิน Motor power = 3 ยกขาได้แต่ต้านแรงไม่ได้ on tracheostomy tube with colla mask 10 LPM. on foley cath on heparin lock ที่เเขนข้างซ้าย ปัสสาวะมีเลือดปน สวนล้างกระเพาะปัสสาวะ ( สวนเข้าไป 1000 cc ออก 1000 cc มีลักษณะใส ) มีคำสั่งให้เก็บปัสสาวะส่งตรวจ ผลออกมาคือ No Growth มีแผนการรักษาให้ ON NG tube และดูแลให้ได้รับยาและสารน้ำตามแผนการรักษา
การวินิจฉัย
ทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง (CT Scan) พบเลือดออกในสมองบริเวณ Basal ganglion ข้างซ้ายขนาด 2.9×2.7×2.1 cm.
การรักษา
On tracheostomy tube 10 LPM , Retained Foley’s catheter, ให้ยา Enalapril, Nicardipine, Colistin, Tazocin Metformin, Amlodipine, Fluimucil, Depakin