Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การสร้างพฤติกรรมที่มีระเบียบในชั้นเรียน, นางสาวฮานีฟะ มอน็อง รหัส…
บทที่ 2 การสร้างพฤติกรรมที่มีระเบียบในชั้นเรียน
วัตถุประสงค์
เข้าใจความสำคัญของกฎเกณฑ์ และรูปแบบการปฏิบัติกิจวัตรประจำในการบริหารจัดการพฤติกรรมในห้องเรียนของผู้เรียนอย่างลึกซึ้ง
กำหนดกฎเกณฑ์และรูปแบการปฏิบัติกิจวัตรประจำที่แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติตัวที่ดีให้แก่ผู้เรียน
เข้าใจความสำคัญของการเริ่มต้นที่ดีและการรักษาระเบียบต่อเนื่องตลอดปีของผู้เรียน
ประโยชน์ของการวางกฎเกณฑ์และรูปแบบการปฏิบัติกิจวัตรประจำ
การกำหนดกฎเกณฑ์และรูปแบบกาปฏิบัติกิจวัตรประจำ เป็นสิ่งกำหนด พฤติกรรมของผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้ดีที่สุด ตัวอย่างของกฎเกณฑ์ที่ดี เช่น การกำหนดว่าผู้เรียนควรมีมารยาทที่ดี พูดจาสุภาพ และเคารพผู้อื่น
รูปแบบการปฏิบัติกิจวัตรประจำ
คือ ขั้นตอนกระบวนการที่ติดตามในแต่ละสถานการณ์ที่กำหนดไว้เพื่อให้ห้องเรียนมีระเบียบเรียบร้อย
กฎเกณฑ์และรูปแบบปฏิบัติกิจวัตรประจำช่วยให้สภาพแวดล้อมในชั้นเรียนมีลักษณะ เป็นระเบียบจดจ่ออยู่กับงานที่ได้รับมอบหมาย คาดเดาสถานการณ์ได้มั่นคง ปลอดภัย ผ่อนคลาย
ประเภทของกฎเกณฑ์และรูปแบบปฏิบัติกิจวัตรประจำ
กฎเกณฑ์สำหรับจัดการชั้นเรียน
กฎเกณฑ์เพื่อทำให้ชั้นเรียนดำเนินไปได้อย่างราบรื่นเท่านั้น เช่น การย้ายชั้นเรียน การเข้า-ออกชั้นเรียน การเข้าเรียนสาย เป็นตัน
กฎเกณฑ์
สำหรับจัดการการเรียนการสอน
เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมทางวิชาการซึ่งจะช่วยทำให้การ
เรียนการสอนดำเนินไปอย่างราบรื่น อาทิ การนำหนังสือและเอกสารมาเรียน การส่งการบ้าน การทดสอบต่าง ๆ
กฎเกณฑ์สำหรับการปฏิสัมพันธ์
เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เพื่อตรวจสอบ
การสื่อสารระหว่างครูและศิษย์ หรือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
หลักการเบื้องต้น
ต้องมั่นใจว่าได้กำหนดกฎเกณฑ์และรูปแบบปฏิบัติกิจวัตรประจำที่กระจำงและง่ายต่อการทำความเข้าใจ กล่าวคือ ต้องไม่ก่อให้เกิดข้อเคลือบแคลงสงสัย หรือ ทำให้เข้าใจผิดเป็นอย่างอื่นได้
ต้องมั่นใจว่าได้กำหนดกฎเกณฑ์ที่สมหตุสมผลและอยู่บนพื้นฐานของความจำเป็นซึ่งประกอบด้วยวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎเกณฑ์และรูปแบบกิจวัตรประจำที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและการพูดคุย
ต้องมั่นใจว่าได้กำหนดกฎเกณฑ์ที่สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของโรงเรียน กฎเกณฑ์ในชั้นเรียนต้องเป็นการส่งเสริมกฎเกณฑ์ของโรงเรียน และสามารถทำให้ผู้เรียนสร้าง ประโยชน์ให้แก่โรงเรียนได้
การกำหนดกฎเกณฑ์สำหรับชั้นเรียนระดับมัธยมศึกษา
ในระดับมัธยมปลาย ครูอาจหารือร่วมกับผู้เรียนเพื่อกำหนดกฎเกณฑ์สำหรับชั้นเรียนได้ การกระทำ เช่นนี้ มีประโยชน์ คือ
ผู้เรียนจะรู้สึกว่าได้แสดงออกและความคิดเห็นของตนมีผู้รับฟัง และมีแนวโน้มที่จะยินยอมตามเสียงข้างมากในการตัดสินใจได้
การกำหนดกฎเกณฑ์สำหรับชั้นเรียนระดับประถมศึกษา
วางแผนว่าต้องการให้ผู้เรียนของท่านประพฤติตนอย่างไรบ้างกำหนดให้ผู้เรียนเดินข้าชั้นเรียนได้อย่างสะตวก การกำหนดให้ผู้เรียนสามารถคุยกับเพื่อนดระหว่างนั่งทำงานนอกจากจะต้องคำนึงถึงลักษณะของผู้เรียนในแต่ละโรงเรียนด้วย ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนประจำท้องถิ่น โรงเรียนรัฐบาลหรือโรงเรียนเอกชน
การกำหนดรูปแบบปฏิบัติกิจวัตรประจำเฉพาะสถานการณ์
สิ่งจำเป็นที่ครูทุกท่านจะต้องมี
ขั้นตอนกำหนดการเคลื่อนไหวของผู้เรียน
ผู้เรียนต้องยืนเข้าแถวหน้าห้องเรียนและรอให้ครูเดินเข้าไปก่อน
หรือผู้เรียนต้องขออนุญาตก่อนจะเข้ห้องน้ำและต้องเดินผ่านโต๊ะครูไปอย่างเรียบร้อย
หนึ่งในรูปแบบปฏิบัติกิจวัตรประจำด้านการมีปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในชั้นเรียน คือ การตอบข้อชักถาม ซึ่งเป็นวิธีการที่ครูสามารถใช้ทบทวนสอบความข้าใจหรือให้โอกาสผู้เรียนแสดงความคิดเห็นได้
ครูจึงควรกำหนดรูปแบบการเรียกความสนใจดัง
ในระดับประถมศึกษา
เช่น การสั่นกระดิ่ง ปิดไฟชั่วครู่ เคาะโต๊ะหรือปรบมือ
ระดับมัธยมศึกษา
การใช้รูปประโยค เช่น "ครูขอให้ผู้เรียนฟังทางนี้ตัวยค่ะ/ครับ"
การนำกฎเกณฑ์และรูปแบบปฏิบัติกิจวัตรประจำไปใช้
ชี้แจงกฎเกณฑ์และรูปแบบปฏิบัติกิจวัตรประจำอย่างซัดเจน
อธิบายเหตุผลที่มาของต้องกำหนดกฎเกณฑ์และรูปแบบปฏิบัติกิจวัตรประจำ
ยกตัวอย่างเหตุการณ์ประกอบการอธิบาย
ชี้แจงบทลงโทษหากไม่ปฏิบัติตาม
การเริ่มต้นที่ดีเป็นสิ่งสำคัญยิ่งยวด
การกำหนดกฎเกณฑ์อย่างชัดเจนตั้งแต่แรกเริ่มจะช่วยให้ชั้นเรียนดำเนินไปอย่างมีระเบียบ โดยไม่ต้องพะวักพะวงกับสถานการณ์วุ่นวายที่อาจขัดการเรียนการสอนได้
บทสรุป
การบริหารจัดการพฤติกรมของผู้เรียนจะมีประสิทธิภาพที่สุด หากท่านใช้กฎเกณฑ์เหล่านั้น
อย่างสม่ำเสมอเมื่อแรกเริ่มอาชีพครูนั้น ท่านจะต้องบริหารจัดการและตรวจสอบผู้เรียนอย่างดีที่สุด และเมื่อท่านเริ่มเป็นที่รู้จักและเป็นที่ยอมรับในโรงเรียนแล้ว ท่านก็สมารถดำเนินการเรียนการสอนได้อย่างสะดวกสบายและเป็นกันเองได้มากขึ้น ประสบการณ์ที่สั่งสมจะสอนให้ทนสมารถบริหารจัดการการเรียนการสอนและคุมชั้นเรียนให้มีระเบียบได้ในขณะเดียวกัน
นางสาวฮานีฟะ มอน็อง รหัส 6220160473 เลขที่ 29 กลุ่มที่ 6