Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระดูกหัก (Bone Fracture) - Coggle Diagram
กระดูกหัก (Bone Fracture)
ความหมาย
คือ ภาวะที่กระดูกได้รับแรงกระแทกมากเกินไป ส่งผลให้กระดูก ไม่สามารถรองรับน้ำหนักจากแรงดังกล่าวได้
และเกิดหักก่อให้เกิดอาการปวด เสื่อมสมรรถภาพในการท้างาน
ประเภทของกระดูกหัก
กระดูกหักชนิดไม่มีแผล (Closed Fracture)
คือ กระดูกหัก แต่ผิวหนังไม่ได้รับบาดเจ็บใด ๆ
กระดูกหักแบบแผลเปิด (Open หรือ Compound Fracture)
คือ กระดูกที่ทิ่มผิวหนังออกมา
หรือได้รับบาดเจ็บจนผิวหนังเปิด ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้สูง
ผู้ป่วย
Open fracture right of foot
อาการ
อวัยวะผิดรูป เช่น แขนหรือขาผิดรูป โดยแขนหรือขาจะงอ หรือหักบิดในลักษณะที่ผิดปกติ
เคลื่อนไหวแขนขาได้น้อย หรือเคลื่อนไหวไม่ได้เลย
เกิดอาการบวมบริเวณกระดูกที่ได้รับบาดเจ็บ ทั งนี ยังเกิดรอยช ้าและเลือดออกจากผิวหนัง
รู้สึกชา และเกิดเหน็บชา
รู้สึกปวดกระดูกหรือรอบ ๆ บริเวณที่ได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง โดยอาการจะแย่ลงเมื่อเคลื่อนไหว
อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ หรือได้รับแรงกดที่บริเวณดังกล่าว
ผู้ป่วยบางรายอาจเกิดกระดูกทิ่มผิวหนังออกมา
ผู้ป่วย
มีอาการปวดบริเวณที่กระดูกหัก
มีอาการบวมบริเวณที่กระดูกหัก
เคลื่อนไหวขาไม่ได้
มีกระดูกทิ่มผิวหนังออกมา
สาเหตุ
ตกลงมาจากที่สูง
ถูกตีหรือได้รับแรงกระแทกอย่างรุนแรง
ประสบอุบัติเหตุ เช่น รถชน ส่งผลให้ได้รับบาดเจ็บสาหัส
ได้รับแรงกระแทกจากการเคลื่อนไหว เช่น เล่นกีฬาที่ต้องลงน ้าหนักมากเกินไป ซึ่งท้าให้เท้า ข้อเท้า
หน้าแข้ง หรือสะโพก เกิดกระดูกปริได
ผู้ป่วย
ประสบอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ชนเสาไฟฟ้า
การวินิจฉัย
โดยทั่วไปแล้ว แพทย์จะวินิจฉัยกระดูกหัก โดยตรวจบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บและเอกซเรย์หรือการตรวจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือซีทีสแกน (CT scan)หรือตรวจด้วยเครื่องสร้างภาพด้วยคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหรือเอ็มอาร์ไอ (MRI) หรือสแกนกระดูก
ผู้ป่วย
เอกซ์เรย์ พบ Ofx of didtal middle proximal phalanx of 2nd 3rd toe
การรักษา
จัดเรียงกระดูก
วิธีนี คือการจัดแนวกระดูกที่หักให้อยู่ในต้าแหน่งเดิม เพื่อป้องกันไม่ให้ชินส่วนกระดูกที่หักหลุดออกจากกัน
ใส่เฝือก
หลังจัดเรียงกระดูกแล้ว แพทย์จะพันแผลบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ และใส่เฝือกปูนเพื่อพยุงกระดูกบริเวณที่เกิดอาการหัก
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การปฐมพยาบาลสำหรับประชาชนทั่วไป
ประคบน้ำแข็งบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ และยกอวัยวะดังกล่าวให้สูงเพื่อลดอาการบวม
ล้างแผลด้วยสบู่และน้ำเปล่าสะอาดเบา ๆ เพื่อป้องกันเชื้อแบคทีเรียเข้าแผล
โทรเรียกรถพยาบาลโดยเร็วที่สุด
การปฐมพยาบาลสำหรับผู้ที่ผ่านการอบรม
ตรวจดูว่าผู้ป่วยหายใจอยู่หรือไม่ โทรเรียกรถพยาบาล และปฐมพยาบาลด้วยวิธีซีพีอาร์
ดามกระดูกบริเวณที่หัก โดยดามทั้งด้านบนและด้านล่างของบริเวณดังกล่าว
ควรให้ผู้ป่วยนอนราบ ยกขาให้ขึ นสูงกว่าศีรษะประมาณ 30 เซนติเมตร และห่มด้วยผ้าห่มเพื่อป้องกันผู้ป่วยเกิดอาการช็อค
ผ่าตัด
ผู้ป่วยที่เกิดกระดูกหักร้ายแรง โดยมีกระดูกทิ่มออกมาข้างนอกจะได้รับการผ่าตัดก่อนจัดเรียงกระดูกและใส่เฝือก
ผู้ป่วย
จัดเรียงกระดูก
ใส่เฝือก
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดภาวะเลือดออกในข้อ (Haemarthrosis)
แผลติดเชื้อ
สูญเสียการเคลื่อนไหวของร่างกาย ก่อให้เกิดปอดบวม หลอดเลือดอุดตัน หรือกล้ามเนื้อสลาย
เกิดความดันในกล้ามเนื้อสูงขึ้น (Compartment Syndrome)
หลอดเลือดแเดงบาดเจ็บ เช่น ผู้ป่วยที่กระดูกต้นขาหัก อาจเกิดภาวะหลอดเลือดต้นขาฉีกขาดได้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล : เสี่ยงต่อการเกิดกลุ่มอาการความดันในช่องกล้ามเนื้อสูงผิดปกติ
2.ประเมินการการทำงานของเส้นประสาทโดยเฉพาะเส้นประสาทที่เท้า(Common preoneal nerve)
3.ให้วางเฝือกที่ยังไม่แห้ง (Damp cast) บนหมอนและไม่ให้ผ้าห่มคลุม
1.สังเกตอาการและอาการแสดงถึงการเกิดภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูงผิดปกติ เช่น ปวด ซีด เย็น ชา อ่อนแรง คลำไม่พบชีพจร
4.จัดวางเฝือกในท่านอนหงายและใช้หมอนรองให้เฝือกสูงกว่าระดับหัวใจ
5.ประเมินการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและข้อ (ROM)