Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้านปัญญานิยม - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้านปัญญานิยม
ตารางสรุปความเเตกต่างของเเนวคิดระหว่างพฤติกรรมเเละปัญญานิยม
พฤติกรรมนิยม
เรื่องการกระทำภายนอก(Behavior)
องค์ประกอบ(Parts)
ความรู้เป็นสิ่งที่ค้นพบเเละเรียกกลับขึ้นมาใช้(Information a discovory retrieval )
จิตเป็นเสมือนโรงงาน(Mind is an assembly line )
ผลลัพธ์(Outcomes)
ปัญญานิยม
เรื่องของกายในจิตใจ(Internal Representtation)
ภาพรวม(Wholes)
ความรู้เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นมาใหม่(Information as constraction)
จิตใจเป็นเสมือนคอมพิวเตอร์(Mind is a computer)
กระบวนการ(Process)
ปัญญานิยม หรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ หรือ บางครั้งเรียกว่ากลุ่มพุทธินิยม เป็นกลุ่มที่เน้นกระบวนการด้านปัญญาเเละความคิด การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญา ในการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับตนเอง ชอมสกี้(Chomsky)เชื่อว่า พฤติกรรมมนุษย์เป็นเรื่องของจิตใจ มนุษย์ไม่ใช่ผ้าขาวที่เอาลงสีอะไรจะกลายเป็นสีนั้น ดังนั้นการออกเเบบการสอนควรต้องคำนึงถึงความเเตกต่างภายในมนุษย์ด้วย
การนำทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยมมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ทั้งความรรู้สึกนึกคิด อารมณ์ ความสนใจ เเละ ความถนัดในเเต่ละคนซึ่งครูผู้สอนไม่จำเป็นจะต้องเอาเนื้อหาทั้งหมดมาสอน ควรเสนอบางส่วน ควรมีความต่อเนื่อง ผู้เรียนสามารถนำประสบการณ์เดิมมาใช้เเละเติมให้สสมบูรณ์ ซึ่งสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีเเละรวดเร็ว
ทฤษฎีที่สำคัญของกลุ่มปัญญานิยมมีดังนี้
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่ม เภสตัลท์นักจิตวิทยาคนสำคัญของทฤษฎี คือ เเมกซ์ เวอร์ไทม์เมอร์
ทฤษฎีเครื่องหมายของทอลเเมน
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้ทางสติปัญญานักจิตวิทยาคนสำคัญ คือ เพียเจต์ เเละ บรุเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการเรียนรู้ทางสติปัญญานักจิตวิทยาคนสำคัญ คือ เพียเจต์ เเละ บรุเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้านความหมายของ ออซูเบล
ทฤษฎีสนาม นักจิตวิทยาคนสำคัญคือ เดิร์ท เลวิน ซึ่งเคยอยู่กลุ่มทฤษฎีของเกสตัลท์ เเละ ได้เเยกตัวออกมา
ทฤษฎีความยืดหยุ่นทางปัญญา
ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ มีนักจิตวิทยา คือ รูเมลฮาร์ท เเละ ออโทนี่