Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่3 เรื่องการพยาบาลมารดาทารกหลังคลอดปกติ, กระตุ้นให้ลูกดูดนมทุก…
กรณีศึกษาที่3
เรื่องการพยาบาลมารดาทารกหลังคลอดปกติ
มารดา อายุ32ปี
คลอดบุตรคนที่4
วันแรกหลังคลอด
กระเพาะปัสสาวะ
คลำพบลอนนิ่มบริเวณระดับสะดือ
Abnormal
Bladder full เนื่องจากมารดาไม่ปัสสาวะ
ถ้าไม่ปัสสาวะใน 6-8 hr
เสี่ยงต่อการตกเลือด
แผลฝีเย็บบวมเล็กน้อย
REEDA scale 2 คะแนน
Normal
ไม่มี sign ของการติดเชื้อ
ถ้า > 2 คะแนน มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลฝีเย็บสูง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจาก REEDA scale = 2 คะแนน
2.ทำความสะอาดบริเวณแผลฝีเย็บ
ประเมินแผลฝีเย็บด้วย REEDA scale วันละ 1 ครั้ง
หลักการประเมิน
จากเคสฝีเย็บบวมเล็กน้อย 2 คะแนน
Approximation 0 คะแนน
Discharge 0 คะแนน
Ecchymosis 2 คะแนน
Edema 2 คะแนน
Redness 0 คะแนน
V/S
RR 18 bpm Normal
BT 38 องศาเซลเซียส Normal
Reactionary fever
แม่หลังคลอดสูญเสียน้ำ เลือด และพลังงานจากการคลอด
การพยาบาล
กระตุ้นให้มารดาดื่มน้ำบ่อยๆเพื่อชดเชยสารน้ำที่เสียไป
เช็ดตัวลดไข้เพื่อให้ร่างกายสุขสบาย
BP 120/88 mmHg Normal
PR 100 bpm Normal
Pain score = 7 คะแนน
Moderate pain
การพยาบาล
ใช้ยา
ตามแผนการรักษา
ไม่ใช้ยา
ประคบเย็นใน 24 hr แรก หลังจากนั้นให้ประคบร้อน
นอนตะแคงซ้ายตรงข้ามกับด้านที่มีแผลฝีเย็บ
3.หลีกเลี่ยงการนั่งขัดสมาธิ
4.ใช้ห่วงยางเล็กๆรองนั่ง
2 วันหลังคลอด
น้ำนม
ทารกดูดนมข้างซ้าย จะมีน้ำนมไหลจากเต้าข้างขวา
Normal
กระตุ้น Posterior pituitary gland
หลั่ง Oxytocin
มดลูกหดรัดตัว
แม่เจ็บมดลูกขณะให้นมทารก
1 more item...
น้ำนมไหลทั้ง 2 ข้าง
Milk ejection reflex หรือ Let down reflex
ปวดมดลูกขณะทารกดูดนม
น้ำนมในระยะ 2 วันหลังคลอด
Colostrum
Lactogenesis I
ประกอบด้วย แคโรทีนสูงกว่าน้ำนมในระยะหลัง มีโปรตีนต่างๆ ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย มีเกลือแร่ วิตามิน สารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของสมองและการมองเห็นของลูก รวมทั้งเป็นยาระบายอ่อนๆช่วยขับขี้เทาของเด็ก
มารดาไม่อยากให้ลูกดูดน้ำนมเหลือง
คำแนะนำ
อธิบายประโยชน์ของ Colostrum
มดลูก
มดลูกกลมแข็งต่ำกว่าระดับสะดือ 1 นิ้ว
Normal
Uterine involution
2 wk พ้ายังคลำมดลูกได้ทางหน้าท้อง ให้มาพบแพทย์
น้ำคาวปลา
สีแดงจางๆ
Normal
Lochia rubra
การพยาบาล
ถ้ามีกลิ่นเหม็นให้มาพบแพทย์
ด้านจิตสังคม
มารดา
วิตกกังวล หงุดหงิดง่าย บางครั้งร้องไห้คนเดียว
Postpartum blue
มีอาการไม่เกิน 2 wk
ถ้า > 2 wk
Postpartum depression
1 more item...
การพยาบาล
อธิบายว่าเป็นภาวะปกติ ที่จะหายไปเอง
อธิบายให้สามี และคนในครอบครัวเข้าใจ
ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลทารก
แนะนำการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
แนะนำให้มีการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
เมื่อพยาบาลสอนอาบน้ำทารก มารดาบอกว่า “ทำไม่ถูก กลัวลูกจมน้ำ”
สัมพันธระหว่างมารดากับทารกไม่ดี
Taking in phase
ให้การช่วยเหลือประคับประคองทั้งด้านร่างกายและจิตใจของมารดา
ให้การพยาบาลด้วยท่าทีที่อบอุ่น เห็นใจ
เปิดโอกาสให้มารดาได้ระบายความรู้สึก
อธิบายให้สามีและญาติเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลง
สังเกตอาการผิดปกติทางด้านจิตใจ
บิดา
ส่งเสริมบิดา
เข้าใจมารดาหลังคลอด
แบ่งเบาภาระในการเลี้ยงดูบุตร
ปรับเปลี่ยนบทบาทการเป็นพ่อ
ประเมินมารดาหลังคลอด 12 B
Body condition : สีหน้าอ่อนเพลีย ไม่สุขสบาย ปวดแผลฝีเย็บ มีสีหน้าวิตกกังวล หงุดหงิดง่าย บางครั้งร้องไห้คนเดียว เมื่อลูกร้องจะเรียกสามีมาดูลูก ไม่กล้าจับลูก
Body temperature and blood pressure : BT 38 องศาเซลเซียส, BP 120/88 mmHg
Breast and lactation
หัวนม : มีตุ่มน้ำที่หัวนมข้างขวา มีรอยแตก เลือดออกซึมๆ เจ็บตอนทารกดูดนม
เต้านม : มารดารู้สึกหนักเต้านม คลำได้ก้อน รู้สึกร้อนบริเวณเต้านมข้างขวา
การหลั่งน้ำนม : เมื่อครบ 45 นาทีหลังคลอด มารดาให้นมลูกไม่ได้ ประเมินน้ำนมไหล 1-2 หยด
Belly and uterus
หน้าท้อง : คลำพบลอนนิ่มบริเวณระดับสะดือ
มดลูก : คลำพบมดลูกกลมแข็งต่ำกว่าระดับสะดือ 1 นิ้ว
Bleeding and lochia : Estimate blood loss 300 ml 2 วันหลังคลอด น้ำคาวปลาสีแดงจางๆ
ดูแลให้ได้รับ 5%D/N/2 (1,000 ml) add Syntocinon 10 unit IV drip 100 ml/hr
Bottom : แผลฝีเย็บบวมเล็กน้อย REEDA scale 2 คะแนน Pian score 7,5 คะแนน
Bowel movement : ต้องประเมินอาการท้องอืดท้องผูก โดยการฟัง bowel sound และเคาะหน้าท้อง
Blues : 2 วันหลังคลอด มารดามีสีหน้าวิตกกังวล หงุดหงิดง่าย บางครั้งร้องไห้คนเดียว
Baby : ทารกเพศชาย แรกเกิดมีนัยน์ตา สีผิวบริเวณใบหน้าและหน้าอกมีสีเหลือง ถ่ายอุจจาระ 1 ครั้ง
Bonding and attachment : เมื่อลูกร้อง จะเรียกสามีมาดูลูก เมื่อพยาบาลสอยวิธีอาบน้ำให้ลูก มารดาบอกว่าทำไม่ถูกกลัวลูกจมน้ำ
Bladder : คลำพบลอนนิ่มบริเวณระดับสะดือ หลังคลอดยังไม่ถ่ายปัสสาวะ
Background
มารดาอายุ32ปี
คลอดบุตรคนที่4 เพศชาย
น้ำนม
กลไลการสร้างและการหลั่งน้ำนม
Lactogenosis I
เมื่อตั้งครรภ์~28wk
สร้างหัวน้ำนมColostrum
Estrogenเพิ่มขึ้น
Progesteroneเพิ่มขึ้น
ทำให้สร้างน้ำนมได้น้อย :
Lactogenosis III
จากเคสลูกไม่ดูดนม
Prolactinลดลง
น้ำนมไม่สร้างและไม่ไหล
Oxytocinลดลง
ถ้าลูกดูดนมสม่ำเสมอ~10วัน
Mature milk
Lactogenosis II
เกิดภายหลังคลอด
รกคลอด
Estrogenลดลง
Progesteroneลดลง
No PIF
Prolactinเพิ่มขึ้น
1 more item...
พยาบาลกระตุ้นให้ลูกดูดนมแม่
Anterior Piituitary gland
Postereior
Oxytocinเพิ่มขึ้น
1 more item...
การเตรียมมารดาให้ทารกแรกเกิดได้รับนมแม่
ให้ลูกดูดนมเร็ว โดยดูดนมมารดาหลังคลอดเร็วที่สุด
ให้ลูกดูดนมบ่อยครั้ง ทุก 2-3 hr
ให้ลูกดูดนมถูกวิธี
ให้ลูกดูดนมจนเกลี้ยงเต้า
ปัจจัยที่ทำให้น้ำนมไหลน้อย
1.ลูกไม่ยอมดูดนม จึงไม่มีการกระตุ้นการสร้าง Prolactin จาก Anterior pituitary gland
2.เจ็บหัวนม เต้านมคัดตึง และอ่อนเพลีย จึงอาจทำให้ไม่อยากให้ลูกดูดนม
3.ความเครียด ความวิตกกังวล
จะลดการหลั่ง Oxytocin ทำให้น้ำนมไหลน้อยลง
หลั่ง Cortisol เป็น PIF ยับยั้ง prolactin ทำให้น้ำนมไหลน้อยลง
หลักการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้สำเร็จ
1.มีนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนได้เป็นประจำ
2.ฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนให้มีทักษะที่จะนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติ
3.ชี้แจงให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบถึงประโยชน์และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
4.ช่วยแม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายใน 30 นาทีแรกหลังคลอด
5.แสดงให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และวิธีทำให้น้ำนมยังคงมีปริมาณพอเพียงแม้ว่าแม่และลูกจะต้องแยกกัน
6.อย่าให้น้ำ นมผสม หรืออาหารอื่นแก่ทารกแรกคลอดนอกจากนมแม่ เว้นแต่จะมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
7.ให้แม่และลูกอยู่ในห้องเดียวกันตลอด 24 ชั่วโมง
8.สนับสนุนให้ลูกได้ดูดนมแม่ทุกครั้งที่ลูกต้องการ
9.อย่าให้ลูกดูดหัวนมยาง หัวนมหลอก หรือหัวนมปลอม
10.ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และส่งแม่ไปติดต่อกลุ่มดังกล่าวเมื่อออกจากโรงพยาบาลหรือคลินิก
ภายหลังคลอด 45 นาที พยาบาลนำทารกแรกเกิดไปดูดนมแม่
เหมาะสม
30-60แรกหลังคลอด ทารกไวต่อความรู้สึกของการเกิดการรักใครผูกพัน (sensitive peroid)
3 วันหลังคลอด
ข้อวินิจฉัย : มารดามีภาวะหัวนมแตก
การพยาบาล
ให้ลูกดูดนมข้างที่ไม่เเตกหรือเจ็บน้อยก่อนเสมอ
สังเกตการดูดนมเพื่อประเมินเเละเเก้ไขการจัดท่าในการให้นมเเละการดูดนมเเม่ของลูก
ข้อวินิจฉัย : เด็กมีภาวะตัวเหลืองเนื่องจากได้รับนมแม่ไม่เพียงพอ
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับนมอย่างเพียงพอ ถูกวิธี ปากของเด็กงับถึงลานนม
ชั่งน้ำหนักอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
ข้อวินิจฉัย:มารดามีภาวะเต้านมคัดตึง
การพยาบาล
นวดคลึงเต้านมเบาๆ
ให้ลูกดูดนมบ่อยขึ้นถูกวิธี และมีประสิทธิภาพ
ข้อวินิจฉัย:มารดาเสี่ยงต่อภาวะเต้านมอักเสบ
การพยาบาล
ให้มารดาใส่ยกทรงที่พอดีตัว ไม่รัดเกินไป
ถ้าเต้านมอักเสบไม่รุนแรง สามารถให้ทารกดื่มนมต่อได้เพื่อระบายน้ำนมออกจากเต้า ขณะให้ยาปฏิชีวนะรักษา
ถ้าเป็นฝีที่เต้านม ควรงดให้ทารกดูดนมข้างนั้น 24-48 ชั่วโมง จนกว่าจะระบายหนองออก เเละให้ยาปฏิชีวนะ
6 wk หลังคลอด
ข้อวินิจฉัย:ทารกมีการสับสนหัวนมเนื่องจากมารดาให้ดื่มนมแม่กับนมผสมสลับกัน
การพยาบาล
งดขวด จุกนมยาง จุกนมหลอก
ปั๊มนมหรือกระตุ้นให้น้ำนมพุ่งก่อนให้ลูกดูดทารกที่ติดจุกจะพอใจเมื่อดูดปุ๊บน้ำนมไหลปั๊บ จะยอมรับเต้านมแม่ง่ายขึ้น
กระตุ้นให้ลูกดูดนมทุก3ชั่วโมง
ทั้งกลางวันและกลางคืน