Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ (Urinary system Infection…
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์
(Urinary system Infection during pregnancy)
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอดหรือทวารหนักใกล้ท่อปัสสาวะ ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทํางานของระบบทางเดินปัสสาวะขณะตั้งครรภ์ และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาขณะตั้งครรภ์ของไต
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
การเจ็บครรภ์คลอด ก่อนกําหนด
ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด
การแท้ง
septic shock
ผลต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกคลอดก่อนกําหนด
ทารกน้ําหนักตัวน้อย
ทารกตายคลอด
ชนิดของการติดเชื้อ
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต (Acute pyelonephritis)
กลุ่มอาการโรคไตรั่ว หรือโปรตีนรั่วในปัสสาวะ (Nephrotic syndrome)
การติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ (Acute cystitis)
ภาวะไตวาย (renal failure)
ไตวายเรื้อรัง (chronic renal failure)
ไตวายเฉียบพลัน (acute renal failure)
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ไม่แสดงอาการ (Asymptomatic bacteriuria: ASB)
แนวทางการป้องกันและรักษา
การป้องกัน
แนะนําให้ดื่มน้ําอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
แนะนําให้ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
ทําการคัดกรองการติดเชื้อตั้งแต่ต้น โดยตรวจเพาะเชื้อปัสสาวะ
การรักษา
รายที่เป็นกรวยไตอักเสบเฉียบพลนั ต้องรับไว้ในโรงพยาบาล
รายที่มีการติดเชื้อแบบ ASB ต้องได้รับยาปฏิชีวนะทุกราย
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์
การที่มดลูกมี การขยายขนาดใหญ่ขึ้นและกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ หรือการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
urine analysis
urine culture
การตรวจร่างกาย
กดบริเวณ costovertebral angle จะปวดมาก
มีไข้ ปวดบริเวณท้องน้อย เหนือหัวหน่าว
ปัสสาวะขุ่น หรือพบปัสสาวะเป็นสีน้ําล้างเนื้อ
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นเรื่องการทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกการสังเกตอาการผิดปกติต่าง ๆ และเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
ระยะหลังคลอด
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการป้องกันการกลับเป็นซ้ํา
เน้นการคุมกําเนิดในรายที่มีบุตรเพียงพอแล้วหรือเป็นโรคไตติดเรื้อรังควรคุมกําเนิดแบบถาวร
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หรือป้องกันการกลับเป็นซ้ํา
กรณีที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรค และสังเกตอาการผิดปกติ
เน้นความสําคัญของการมาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับสตรีตั้งครรภ์และทารกและแผนการรักษาพยาบาล
อาการและอาการแสดง
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (Lower UTI)
ปัสสาวะแสบขัด กระปิดกระปรอย
ปัสสาวะบ่อย ปวดบริเวณหัวหน่าว
กลั้นปัสสาวะไม่ได้
ปัสสาวะเป็นเลือดหรือสีน้ําล้างเนื้อ
ปวดบริเวณหัวหน่าว
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน (Upper UTI)
ปัสสาวะเป็นสีขุ่น หรือสีน้ําล้างเนื้อ
เจ็บบริเวณชายโครง ปวดหลังบริเวณตำแหน่งของไต
มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ช็อกและ เสียชีวิต