Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
อุปกรณ์เครื่องใช้
สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหาร
ชามรูปไตหรืออ่างกลม
ชุดล้างกระเพาะอาหาร
ผ้าเช็ดปาก หรือผ้าขนหนูผืนเล็ก หรือผ้ากันเปื้อน
สายยางสาหรับใส่ในกระเพาะอาหาร
Ky jelly
ถุงมือสะอาด 1 คู่ และ Mask
วิธีปฏิบัติ
วัตถุประสงค์
ตรวจสอบการอุดตันของสาย
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจานวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
ลักษณะของโภชนาการ
ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)
ปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ คือ มีสารอาหารครบถ้วน
ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status)
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ หรือได้รับเพียงพอ แต่ร่างกายไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารที่ได้รับ
สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจาเป็นต้องได้รับสารอาหาร เพื่อนำมาใช้ในด้านสรีระอย่างเพียงพอ
ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่ในอาหารหรือสารอาหาร ตลอดจนปฏิกิริยาระหว่างกันของสารอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตย่อย ดูดซึม ขนส่ง นำสารอาหารไปใช้และสะสมในร่างกาย
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของอาหารทั้ง ทางด้านอินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ของอาหาร
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงาน
อาหาร (Food) และสารอาหาร (Nutrient) มีความสาคัญต่อภาวะการเจ็บป่วย และด้วยศาสตร์การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์ทางเลือก การแพทย์ผสมผสาน ดังภูมิปัญญาของหมอกระดูกพื้นบ้านในการรักษาผู้ป่วยก
อาหาร หมายถึง สิ่งใด ๆ ซึ่งรับประทานเข้าไปแล้ว เพื่อเสริมสร้างความเจริญเติบโตและ
การมีโภชนาการที่ดีให้แก่ร่างกาย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน
(Basal energy expenditure: BEE)
ความต้องการพลังงานทั้งหมด
(Total Energy Expenditure: TEE)
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้
(Energy Expenditure: EE)
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
ความชอบส่วนบุคคล พบว่าความชอบและไม่ชอบบริโภคอาหารของแต่ละบุคคลมีผลต่อภาวะโภชนาการ
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์ พบว่า การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
ภาวะสุขภาพ พบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
วิถีชีวิต ปัจจุบันมีผู้เลือกดาเนินชีวิตตามวิถีสุขภาพโดยเลือกงดรับประทานสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากสัตว์
การใช้ยา พบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
เศรษฐานะ พบว่า ภาวะเศรษฐกิจดีทาให้ผู้คนเลือกรับประทานอาหารได้ตามความต้องการ
เพศ พบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา พบว่าการดาเนินชีวิตตามบริบทของวัฒนธรรมความเชื่อ และศาสนา
อายุ วัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุเพราะเด็กต้องการสารอาหารโปรตีนไปสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ปัจจัยด้านจิตใจ พบว่า ความเครียด และความกลัวทาให้ความอยากอาหารลดลงรู้สึกเบื่ออาหาร
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร
(Dietary assessment: D)
มีประวัติรับประทานอาหารเจตลอดชีวิต
มีประวัติชอบรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ
มีประวัติเลือกรับประทานอาหารประเภททอด และอาหารรสหวาน
การตรวจร่างกายทางคลินิก
(Clinical assessment: C)
ตรวจ Conjunctiva ของเปลือกตาล่าง (ปกติจะมีสีชมพูค่อนข้างแดง)
สังเกตดูลักษณะเล็บเรียบเป็นมัน มีสีชมพู
ตรวจดูฝ่ามือ ให้เทียบกันทั้ง 2 ข้าง
การประเมินทางชีวเคมี
(Biochemical assessment: B)
เป็นวิธีการเจาะเลือด เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
(Anthropometric measurement: A)
การวัดส่วนสูงและน้าหนักแล้วนามาคานวณค่าดัชนีมวลกาย
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลาบากและกลืนไม่ได้)
Obesity (ภาวะอ้วน)
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric intubation)
การป้อนอาหาร (Feeding)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)