Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อนามัยสิ่งแวดล้อม บ่อบำบัดน้ำเสีย, นางสาวณัฐฐินันท์ สามิลา 20 A - Coggle…
อนามัยสิ่งแวดล้อม
บ่อบำบัดน้ำเสีย
ระบบรวบรวมน้ำเสีย
หมายถึง
การนำน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดหลายๆแห่ง ไปรวมกันยังสถานที่ที่จะบำบัด
โดยผ่านท่อระบายน้ำ
รูปแบบ
1.ระบบท่อน้ำร่วม (Combined System)
เป็นระบบที่ใช้ท่อระบายน้ำฝนและน้ำเสียร่วมกัน
มีการสร้างท่อดักน้ำเสียเป็นระยะ เพื่อรวบรวมน้ำเสียให้ไหลไปบ่อบำบัดน้ำเสีย ส่วนน้ำฝนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ
2. ระบบท่อแยก (Separated System)
เป็นระบบที่แยกท่อระบบน้ำเสียออกจากท่อระบบน้ำฝน
องค์ประกอบ
ท่อระบายน้ำ
บ่อพักน้ำ
บ่อดักน้ำเสีย
อาคารผันน้ำ
ท่อระบายรวม
เข้าสู่ระบบบ่อน้ำเสีย
ความรู้เบื้องต้นของน้ำเสีย
แหล่งกำเนิดน้ำเสีย
ชุมชน
เกษตรกรรม (การเลี้ยงสัตว์ ปุ๋ย สารเคมี ย่าฆ่าแมลง)
โรงงานอุตสาหกรรม
สิ่งเจือปนในน้ำเสีย
สารอนินทรีย์ :
เกลือ โลหะ กรด-ด่าง แร่ธาตุต่างๆ
สารประกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรัส :
พบในพืชน้ำ
ความร้อน :
ในอุตสาหกรรมที่มีการระบายน้ำหล่อเย็น
น้ำมันและสิ่งสกปรก :
จากครัวเรือน ร้านซ่อมรถ
สารกัมมันตรังสี :
จากโรงพยาบาล
จุลินทรีย์ :
โปรโตซัว ไวรัส ทำให้ออกซิเจนในน้ำลดลง
สารอินทรีย์ต่างๆ :
คาร์โบไฮเดรส โปรตีน ไขมัน
ความหมายน้ำเสีย
น้ำที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ แล้ว
ค่าดัชนีคุณภาพน้ำ
ตรวจทุกวัน
ค่าความเป็นกรดและด่าง (pH) ค่ามาตรฐาน pH 5.5 – 9.0
อุณหภูมิ (Temperature) ไม่เกิน 40°C
ตรวจทุกเดือน
ค่าบีโอดี (5 วันที่อุณหภูมิ 20OC / Biochemical Oxygen Demand: BOD) ไม่เกิน 20 mg/l
-ค่าซีโอดี (COD: Chemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 120 mg/l
สารแขวนลอย (Suspended Solids) ไม่เกิน 50 mg/l
ระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนในประเทศไทย
1. สระเติมอากาศ (Aerated Lagoon)
อาศัยการทำงานของจุลินทรีย์มีออกซิเจน (Aerobic) มี 2 บ่อ
บ่อแรก มีเครื่องเติมอากาศ
บ่อที่สอง บ่อบ่ม ใช้แสงแดดบำบัดขั้นสุดท้าย ทำลายจุลินทรีย์
(สำนักงานจัดการน้ำเสีย อุบลราชธานี บำบัดน้ำเสียแบบสระเติมอากาศ)
2. ระบบเเอ็กติเวเต็ดสลัดจ์ (Adtivatated sludge)
น้ำเสียไหลเข้าสู่บ่อเติมอากาศ--> นำน้ำเสียไปตกตะกอน 2 ถัง -->
ทิ้งไว้ให้จุลินทรีย์ตกตระกอน --> ปล่อยน้ำใสทิ้งและ
นำตัวตกตระกอนเวียนกลับมาบำบัดใหม่
3. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อเสถียร (Stabilization Pond)
ระบบบำบัดน้ำเสียที่อาศัยธรรมชาติในการบำบัดสารอินทรีย์ในน้ำ
4. ระบบบึงประดิษฐ์
มี 2 ประเภท
Free Water Surface Wetland (FWS) ลักษณะใกล้เคียงกับบึงธรรมชาติ
Vegetated Submerged Bed System (VSB) มีชั้นดินปนทรายสำหรับปลูกพืชน้ำและชั้นหินรองบ่อเพื่อเป็นตัวกรองน้ำเสีย
5. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบแผ่นจานหมุนชีวภาพ
น้ำเสียไหลผ่านตัวกลางลักษณะทรงกระบอกซึ่งจุ่มอยู่ในถังบำบัด จะหมุนอย่างช้า ๆ เมื่อหมุนขึ้นพื้นน้ำและสัมผัสอากาศ จุลินทรีย์ที่ติดอยู่กับตัวกลางจะใช้ออกซิเจนจากอากาศย่อยสลายสารอืนทรีย์ เมื่อหมุนจมลงก็จะนำน้ำเสียขึ้นมาบำบัดใหม่
การนำน้ำเสียที่บำบัดแล้วมาใช้ประโยชน์
นำไปใช้ล้างตลาด
น้ำไปรดน้ำต้นไม้
นำไปใช้ล้างถนน
การพยาบาลอนามัยชุมชนในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
แนวคิดอนามัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่ไม่สมดุลเกิดเป็นมลพิษมีผลกระทบต่อสุขภาพ ความไม่สุขสบาย ก่อเหตุรำคาญทำให้มนุบย์เกิดการเจ็บป่วยและเสียชีวิต
ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของประชาชน
การป้องกันและการแก้ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมต้องร่วมมือกันทุกฝ่าย
ความหมาย
การดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพมนุษย์ ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข
บทบาทพยาบาล
งานบริการอาชีวอนามัยชุมชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
การให้บริการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสุข
การให้บริการต่อเนื่อง
การดำเนินงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในศูนย์สุชภาพชุมชน
บทบาทด้านบริหารจัดการ
บทบาทด้านวิชาการ
ขอบเขตงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
การวางผังเมืองให้เป็นสัดส่วน
งานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวของกับการคมานาคม การป้องกันอุบัติภัยต่างๆ
การสุขาภิบาลสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
การดำเนินงานสุขาภิบาลเมื่อเมื่อเกิดโรคระบาดเหตุฉุกเฉิน
การป้องกันเพื่อให้สิ่งแวดล้อมโดยทั่งไปปราศจากความเสี่ยงและอันตราย
การจัดหาน้ำสะอาด น้ำปะปา
การควบคุมมลพิษทางน้ำ การจัดการเกี่ยวกับขยะมูลฝอยและของเสีย
การควบคุมสัตว์อาโทพอร์ต
มลพิษของดิน
การสุขาภิบาลอาหาร การควบคุมมลพิษทางอากาศ
การป้องกันอันตรายจากรังสี
การควบคุมมลพิษทางเสียง
ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
นางสาวณัฐฐินันท์ สามิลา 20 A