Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status)
ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (Malnutrition)
ภาวะที่ร่างกายได้รับ
สารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ
โดยอาจขาดสารอาหารเพียง 1 ชนิด หรือมากกว่า
ภาวะโภชนาการเกิน (Over nutrition)
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย และเก็บสะสมไว้จนเกิดอาการปรากฏ
ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่
ถูกหลักโภชนาการ คือ มีสารอาหารครบถ้วน
ในปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจ าเป็นต้องได้รับสารอาหาร เพื่อ
นำมาใช้ในด้านสรีระอย่างเพียงพอ ความสมดุลของสารอาหารที่ได้รับเข้าไปกับสารอาหารที่ร่างกายใช้มีอิทธิพลจากปัจจัยหลายอย่าง
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
ความชอบส่วนบุคคล พบว่าความชอบและไม่ชอบบริโภคอาหารของแต่ละบุคคลมี
ผลต่อภาวะโภชนาการ เช่น บางคนชอบรับประทานอาหารหวานจัด อาหารไขมันสูง
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์พบว่า การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสม
ของแอลกอฮอล์ ทำให้ความรู้สึกอยากอาหารลดลง การบริโภคอาหารเปลี่ยนไป
ภาวะสุขภาพ พบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
วิถีชีวิต เลือกงดรับประทานสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากสัตว์
ผู้ที่เลือกรับประธานอาหารเจมักขาดสารอาหารโปรตีน ควรต้องเสริมอาหารโปรตีนที่ทำมาจากพืชให้เพียงพอกับความต้องการ
ของร่างกาย
การใช้ยา พบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร
คลื่นไส้อาเจียน เช่น ยารักษาวัณโรค-พีเอเอส
เศรษฐานะ ภาวะเศรษฐกิจดีทำให้ผู้คนเลือกรับประทานอาหารตามต้องการ ภาวะเศรษฐกิจไม่ดีการเลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์อาจลดปริมาณลงหรือหยุดรับประทาน
เพศ พบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา พบว่าการด าเนินชีวิตตามบริบทของวัฒนธรรมความเชื่อ และศาสนา ยังด าเนินชีวิตอยู่ในกระบวนทัศน์เดิม มีผลต่อภาวะโภชนาการทั้งสิ้น
อายุ พบว่าในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ เพราะเด็กต้องการสารอาหารโปรตีนไปสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ปัจจัยด้านจิตใจ พบว่า ความเครียด และความกลัวท าให้ความอยากอาหารลดลง
รู้สึกเบื่ออาหาร กลืนอาหารไม่ลงคอ หรือมีอาการปากคอขมโดยไม่ทราบสาเหตุ
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย ขึ้นอยู่กับ เพศ อายุ
ส่วนสูง น้ าหนัก และความรุนแรงของโรค สูตรค านวณความต้องการพลังงานพื้นฐาน
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน (Basal energy expenditure: BEE) หรือพลังงานที่
ต้องการขณะพัก (Resting Energy Expenditure: REE ) BEE หมายถึง พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดกระบวนการเมทาบอลิสซึมของร่างกายก่อนที่จะมีการท างานของอวัยวะอื่น ๆ
สูตร BEE เพศชาย
BEE = 66.47+ (13.75 x น้ าหนัก (Kg )) + (5. 00 x ความสูง (Cm )) – (6.75 x อายุ (ปี))
สูตร BEE เพศหญิง
BEE = 655.09 + (9.56 x น้ าหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง (Cm )) –(4.68 x อายุ (ปี))
ความต้องการพลังงานทั้งหมด (Total Energy Expenditure: TEE) หมายถึง ผลรวมของพลังงานทั้งหมดใน 1 วัน ซึ่งรวมถึง BEE พลังงานที่ใช้ในการย่อย และดูดซึมสารอาหาร การใชพลังงานจากการท างานของร่างกายในแต่ละวัน และการใช้พลังงานของผู้ป่วยเฉพาะโรค
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้(Energy Expenditure: EE) เป็นพลังงานที่เพียงพอหรือเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในการสร้าง Adenosinetriphosphate: ATP
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement: A)
ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
เป็นวิธีการเจาะ
เลือด เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
ตรวจดูฝ่ามือ ให้เทียบกันทั้ง 2 ข้าง (ปกติจะมีสีชมพู)
สังเกตดูลักษณะเล็บเรียบเป็นมัน มีสีชมพู (ลักษณะเล็บที่คล้ายรูปช้อน ผิวไม
ตรวจ Conjunctiva ของเปลือกตาล่าง (ปกติจะมีสีชมพูค่อนข้างแดง)
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment: D)
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity (ภาวะอ้วน)
ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป มีค่าดัชนีมวล
กาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจ ากัดอาหารมื้อเย็น
จำกัดการใช้น้ ามัน ไขมัน น้ าตาล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัด
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อ
ตารางเมตร และน้ าหนักลดลงตลอดเวลาและลดลงเป็นเวลานาน
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทาน
อาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน เมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็นอาหาร รับประทานแล้วไม่ค่อยรู้สึกอร่อย
Bulimia Nervosa
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะรับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ โดยหลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจและรู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไปมากมาย จึงต้องหาวิธีเอาออกโดยอาจล้วงคอให้อาเจียนออกมาจนหมด
Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
อาการคลื่นไส้ เป็นความรู้สึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก มักเป็นอาการน าก่อนอาเจียน แต่อาจเกิดคลื่นไส้โดยไม่อาเจียนได้
อาการอาเจียน คือ การที่มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้นออกมาทางปาก เป็นผลจากมีการบีบตัวของล าไส้เล็กส่วนต้น หรือกระเพาะอาหารส่วนล่างอย่างแรง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียน เมื่อพบผู้ป่วยจะอาเจียน พยาบาลต้องรีบให้
การช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัยและสุขสบาย
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่อาเจียนออกได้สะดวก ช่วยลูบหลังลงเบา ๆ เพื่อ
ป้องกันการสำลักอาเจียนเข้าสู่หลอดลม
คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยก าลังอาเจียน พยาบาลควรเฝ้าดูด้วยความ
เห็นใจ สงบ ไม่ตื่นเต้น ไม่แสดงท่าทีรังเกียจ คอยให้ความช่วยเหลืออย่างกระตือรือร้น
จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน เตรียมกระดาษเช็ดปากหรือผ้าไว้ให้ผู้ป่วย
สำหรับเช็ดปาก
การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
จัดสิ่งแวดล้อม ดูแลให้อากาศถ่ายเท วางของให้เป็นระเบียบ ท าให้
ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายและพักผ่อนได้
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ ลดการรบกวนจากภายนอก
ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช
น้้ำและอาหาร ในระยะแรกให้งดอาหารและน้ำ และเริ่มให้ทีละน้อย เมื่อ
อาการดีขึ้นจึงให้อาหารธรรมดา
การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
พยายามหลีกเลี่ยงและลดแหล่งของความเครียดต่าง ๆ ดูแลให้ผู้ป่วย
ผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ
ให้ผู้ป่วยสูดหายใจเข้าออกลึก ๆ ยาว ๆ ภายหลังอาเจียน และเมื่อรู้สึกคลื่นไส้
พยายามหาสาเหตุแล้วแก้ไขที่สาเหตุ
หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวร่างกายหรือเปลี่ยนท่าเร็ว ๆ รวมทั้งหลีกเลี่ยง
การมองสิ่งที่เคลื่อนไหวเร็ว ๆ ไปมา ผู้ป่วยควรนอนพักท่าศีรษะสูง หลับตานิ่ง ๆ
พิจารณาให้ยาระงับอาเจียน (Antiemetic drug) ตามแผนการรักษา
ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่มท าให้เกิดอาการที่ตามมา เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ถ้าเป็นมากแรงดันในท้องที่เพิ่มจะดันกระบังลมให้สูงขึ้น ปอดขยายไม่เต็มที่ทำให้หายใจลำบาก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
ัจัดให้นอนศีรษะสูง เพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด
แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนลำบาก (Dysphagia) เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความลำบากในการกลืน อาจ
รู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
ภาวะกลืนไม่ได้(Aphagia) จึงไม่สามารถกลืนได้ไม่ว่าจะเป็นอาหารแข็ง อาหาร
ธรรมดา อาหารอ่อน อาหารเหลว จนกระทั่งรุนแรงมากที่สุด คือ กลืนไม่ได้เลยแม้แต่น้ าหรือน้ าลาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้
สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนลำบากว่าเกิดขึ้น
ทันทีทันใดหรือค่อย ๆ มากขึ้น ชนิดของอาหารที่กลืนไม่ได้ มีอาการเจ็บร่วมด้วยหรือไม
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้้้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
ระมัดระวังการสำลัก
ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะความสะอาดของปากและฟัน
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา การตรวจรักษาโดยการส่องกล้องเข้าไป
ดูที่หลอดอาหาร (Esophagoscopy)
การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน ให้กำลังใจ การสังเกตและการดูแลเอาใจใส่ที่ดี
สามารถบอกถึงสาเหตุและอาจแก้ไขอาการได้
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร (Feeding)
การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก โดยผู้ป่วยอาจไม่สะดวกในการใช้มือในการตักอาหาร หรือมีความอ่อนเพลียจากการเจ็บป่วย และเป็นการดูแลเอาใจใส่ให้ผู้ป่วยได้รับประทานอาหารตามเวลา
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric
intubation)
การใส่สายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า การใส่ NG
tube โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการรักษาที่แตกต่างกัน
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีการให้อาหารแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก แต่การทำงานของระบบทางเดินอาหารยังอยู่ในภาวะปกติ โดยให้อาหารผ่านทางสายให้อาหารซึ่งสอดผ่านทางจมูกเข้าสู่กระเพาะอาหาร
Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะ
สำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหารมีลักษณะคล้ายกับชุดให้สารน้ าสามารถปรับจ านวนหยดของอาหาร และควบคุมเวลาการใหอาหารได้ตามความต้องการ เหมาะส าหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของระบบประสาท หรือหลังการผ่าตัดสมอง
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การถอดสายให้อาหารออกนั้นเป็นบทบาทกึ่งอิสระของพยาบาล
เมื่อแผนการรักษาเปลี่ยนไป เช่น ให้เริ่มรับประทานอาหารหลังจากแผนการรักษาให้งดอาหารและน้ าทางปาก หรือผู้ป่วยรูสึกตัวดีสามารรับประทานอาหารเองได
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
การล้างภายในกระเพาะอาหาร ใช้มากในกรณีที่รับประทานยาพิษ ได้รับยาเกิน
ขนาด (Over dose) รวมถึงเป็นการล้างกระเพาะอาหารเพื่อห้ามเลือด
ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจำนวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
ตรวจสอบการอุดตันของสาย
ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม ในกรณีที่ไม่สามารถนำ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
. การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารได้เอง
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย สังเกตสีหน้าท่าทางของผู้ป่วย
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของแนวปฏิบัติ
ประเมินผลภายหลังผู้ป่วยได้รับอาหารทางสายยางทางจมูกถึงกระเพาะ
อาหาร ไม่มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)