Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ
ในทางโภชนาการมิได้มุ่งหวังเพียงจัดการปรุงแต่งอาหารให้มีรสชาติดี สีสันสวยงามราคาถูกมาบริโภคเท่านั้น
ต้องมุ่งเน้นเรื่องคุณภาพของอาหาร หรือปริมาณของสารอาหารที่ร่างกายจะนำมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด
ภาวะโภชนาการ
ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ คือ มีสารอาหารครบถ้วน ในปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย และร่างกายใช้สารอาหารเหล่านั้นในการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มที่
ภาวะโภชนาการไม่ดี (Badnutritionalstatus)
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ โดยอาจขาดสารอาหารเพียง 1 ชนิด หรือมากกว่า และอาจขาดพลังงานด้วยหรือไม่ก็ได้
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย และเก็บสะสมไว้จนเกิดอาการปรากฏ เช่น ได้รับสารอาหารที่ให้พลังงานมากเกินไปจะมีการสะสมไว้ในร่างกายในสภาพไขมัน
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
ความชอบส่วนบุคคลพบว่าความชอบและไม่ชอบบริโภคอาหารของแต่ละบุคคลมีผลต่อภาวะโภชนาการ
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์พบว่า การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ทำให้ความรู้สึกอยากอาหารลดลง การบริโภคอาหารเปลี่ยนไป
ภาวะสุขภาพพบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
วิถีชีวิตปัจจุบันมีผู้เลือกด าเนินชีวิตตามวิถีสุขภาพโดยเลือกงดรับประทานสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ท ามาจากสัตว์ ผู้ที่เลือกรับประธานอาหารเจ เป็นเวลานาน ๆ
การใช้ยาพบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียนเช่น ยารักษาวัณโรค-พีเอเอส (Paraaminobenzoic acid:PAS) ยาลดความอ้วน
เศรษฐานะพบว่า ภาวะเศรษฐกิจดีทำให้ผู้คนเลือกรับประทานอาหารได้ตามความต้องการ
เพศพบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนาพบว่าการดำเนินชีวิตตามบริบทของวัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนายังดำเนินชีวิตอยู่ในกระบวนทัศน์เดิม มีผลต่อภาวะโภชนาการทั้งสิ้น
อายุพบว่าในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ เพราะเด็กต้องการสารอาหารโปรตีนไปสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ปัจจัยด้านจิตใจ พบว่าความเครียด และความกลัวทำให้ความอยากอาหารลดลงรู้สึกเบื่ออาหาร กลืนอาหารไม่ลงคอ
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ขึ้นอยู่กับ เพศ อายุ ส่วนสูง น้ าหนัก และความรุนแรงของโรค สูตรคำนวณความต้องการพลังงานพื้นฐาน
BEEหมายถึง พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดกระบวนการ
เมทาบอลิสซึมของร่างกายก่อนที่จะมีการท างานของอวัยวะอื่น ๆ
สูตร BEE เพศชาย
BEE = 66.47+ (13.75 x น้ำหนัก(Kg )) + (5.00 x ความสูง (Cm )) –(6.75 x อายุ (ปี))
สูตร BEE เพศหญิง
BEE = 655.09 + (9.56 x น้ำหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง(Cm )) –(4.68 x อายุ(ปี))
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร (Feeding)
วิธีปฏิบัติ
การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
จัดให้อยู่ในท่านั่ง กรณีที่นั่งไม่ได้จัดให้นอนตะแคงขวาเล็กน้อย
ปูผ้ากันเปื้อนตั้งแต่ใต้คางลงไป หากผู้ป่วยที่อยู่ในท่านอนตะแคง ควรปูบนที่ไหล่และหมอนด้วย
ก่อนเวลาอาหาร แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายบ้าง โดยเฉพาะในรายทีเคลื่อนไหวด้วยตนเองได้ และควรหลีกเลี่ยงการกระทำที่ทำให้เกิดความเจ็บปวดหรือไม่สุขสบาย
วางถาดอาหารในตำแหน่งที่ผู้ป่วยสามารถมองเห็นชนิดของอาหารได้บอกรายการอาหารและเชิญชวนให้เกิดความอยากอาหารมื้อนั้น
ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง
การป้อนอาหาร
ขณะป้อนอาหารตักอาหารให้มีปริมาณที่เหมาะสม
จังหวะในการป้อนต้องสัมพันธ์กับความสามารถในการรับประทานอาหาร เคี้ยวและกลืนของผู้ป่วย
ไม่ควรจ้องหน้าผู้ป่วย ระวังการตักอาหารไม่ท าอาหารหกรดผู้ป่วย และเช็ดปากให้เมื่อเปื้อนอาหาร
หลังป้อนอาหารให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ บ้วนปาก หรือแปรงฟัน และเช็ดปากให้สะอาด
เก็บถาดอาหาร และเครื่องใช้ต่าง ๆ เมื่อผู้ป่วยรับประทานเสร็จ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
สำหรับผู้ป่วยพิการ
ถ้าผู้ป่วยจับช้อนไม่ถนัดควรสาธิตการใช้ช้อนและส้อมในการตักอาหารใสปากหรือดัดแปลงที่จับของให้จับได้สะดวก
ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย ควรรับประทานอาหารเหลวทีสอดคล้องกับการแผนรักษาของแพทย
สำหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
สอนวิธีการใช้ลิ้นและการกลืน เพื่อช่วยให้การกลืนได้ดีขึ้น
ควรเริ่มจากอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลวก่อน เพราะอาหารอ่อนจะง่ายต่อการกลืน
สอบถามผู้ป่วยถึงความรู้สึกเกี่ยวกับอาหารในปาก เพื่อดูว่ามีอาหารทเหลือค้างในปาก
ให้อาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ในขณะรับประทานอาหารควรหยุดพักเป็นระยะ ๆ จะช่วยให้ได้รับประทานอาหารได้มากขึ้น
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือศีรษะสูงในลักษณะก้มเล็กน้อย เพื่อป้องกันการสำลัก
อุปกรณ์เครื่องใช้
แก้วน้ำพร้อมน้ำดื่ม และหลอดดูดน้ำ
กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
ช้อนหรือช้อนส้อม
ผ้ากันเปื้อน
ถาดอาหารพร้อมอาหาร
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีปฏิบัติ
น าสาย NG tube วัดต าแหน่งที่จะใส่สาย โดยวัดจากปลายจมูกถึงปลายติ่งหูและจากปลายติ่งหูถึงปลายกระดูกอก (Xiphoid process)
เปิดห่อ Toomey syringe แล้วใส่ Plunger ให้เรียบร้อย พันสาย NG ให้อยในมือซ้าย พร้อมใส่สาย NG โดยใช้มือขวาจับปลายสาย NG แล้วหล่อลื่นปลายสาย NG ด้วย K.Y. jelly ประมาณ 5-6 นิ้ว
เปิดซองสาย NG tube จากนั้นบีบ K.Y. jelly ลงด้านในของซองสาย NGtube โดยยังไม่หล่อลื่นสาย NG tube
บอกให้ผู้ป่วยตั้งศีรษะให้ตรงหรือเงยหน้าเล็กน้อย ใช้มือขวาจับปลายสายด้านที่หล่อลื่นแล้ว โดยให้ห่างจากปลายสาย 3-4 นิ้ว ค่อย ๆ สอดเข้าทางรูจมูกแนวด้านข้างของจมูกเอียงเล็กน้อย
ใส่ถุงมือสะอาด และ Mask ตรวจดูรูจมูก ผนังกั้นจมูก โดยให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกแรง ๆ ทีละข้าง ดูการผ่านของลมหายใจ
เมื่อสายผ่านถึงคอ (Posterior nasopharynx) ผู้ใส่หักข้อมือเล็กน้อยใหผู้ป่วยก้มศีรษะลง บอกให้ผู้ป่วยช่วยกลืนสายโดยกลืนน้ าลายหรือดูดน้ าที่เตรียมไว้พร้อมทั้งค่อย ๆ ดันสายอย่างนุ่มนวลตามจังหวะการกลืนจนถึงต าแหน่งที่ท าเครื่องหมายไว้
จัดท่าให้ผู้ป่วย จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือนอนศีรษะสูง
ตรวจสอบว่าสาย NG เข้าไปถึงกระเพาะอาหาร
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการใส่สายยางจากจมูกถึงกระเพาะอาหารปิดประตูหรือกั้นม่านให้เรียบร้อย
ใช้พลาสเตอร์พันสายติดกับจมูก ให้สายอยู่ตรงกลางรูจมูกโค้งปลายสาย ติด้วยพลาสเตอร์ข้างโหนกแก้ม หรือคล้องใบหู แล้วกลัดด้วยเข็มกลัดติดกับเสื้อ
นำอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบโดยดูป้ายชื่อ และสอบถามชื่อ-สกุลผู้ป่วยให้ถูกต้อง (ถูกคนถูกเตียง)
ทำความสะอาดปาก และจมูก
ล้างมือให้สะอาด
นำเครื่องใช้ไปทำความสะอาด เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ตรวจสอบความถูกต้องของคำสั่งการรักษา
ลงบันทึกทางการพยาบาล
อุปกรณ์เครื่องใช้
หลอดดูดน้ำ
พลาสเตอร์
แก้วน้ำ
กระดาษเช็ดปาก
สารหล่อลื่น เช่น K.Y. jelly เป็นต้น
ชามรูปไต
Stethoscope
ผ้าเช็ดตัว
ถุงมือสะอาด 1 คู่
Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
สาย NG tube เบอร์ 14-18 f
ถาดสำหรับใส่เครื่องใช้
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีการให้อาหารทางสายยางมี 2 วิธี ได้แก่
Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะส าหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangarooมีลักษณะคล้ายกับชุดให้สารน้ าสามารถปรับจ านวนหยดของอาหาร และควบคุมเวลาการใหอาหารได้ตามความต้องการ เหมาะส าหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
อุปกรณ์เครื่องใช้
อาหารเหลวสำเร็จรูป หรืออาหารปั่น (Blenderized diet)
ในกรณีที่มียาหลังอาหารบดยาเป็นผงและละลายน้ าประมาณ 15-30 ซีซี
ถาดสำหรับใส่เครื่องใช้
ผ้ากันเปื้อน
ถุงมือสะอาด 1 คู่
Stethoscope
Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
แก้วน้ำ
กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
สำลีชุบ 70% Alcohol 2 ก้อน
ชุดทำความสะอาดปาก ฟัน และจมูก
วิธีปฏิบัติ
หักพับสาย ถอด Toomey syringe แล้วดึง Plunger ออก และต่อกระบอกสูบเข้ากับส่วนปลายของสาย NG
เทอาหารใส่กระบอก Syringe คลายรอยพับออก และปล่อยให้อาหารไหลลงช้า ๆ ต่อเนื่องกันไปไม่ให้ขาดระยะ
ปลดผ้าก๊อซที่หุ้มปลายสายให้อาหารออกท าความสะอาดปลายสายด้วยสำลีชุบ 70% Alcohol
ปูผ้ากันเปื้อนรองตรงปลายสายให้อาหาร
ไขหัวเตียงสูงเพื่อจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
สำลีชุบ 70% Alcohol
ไม้พันสำลีชุบเบนซิน (Benzene) และน้ำเกลือ (Normal saline)
น้ำยาบ้วนปาก
ถุงมือสะอาด
ชามรูปไต
ผ้าก๊อสสะอาด
ผ้ากันเปื้อนหรือผ้าเช็ดตัว
วิธีปฏิบัติ
ไขหัวเตียงสูงเพื่อจัดให้ผู้ป่วยอยู่ท่านั่ง
ตรวจคำสั่งการรักษา เพื่อยืนยันแผนการรักษา
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้งและใส่ถุงมือ สวมmask
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้งและใส่ถุงมือ สวมmask
หักพับสาย และดึงสายออก ขณะดึงสายให้ผู้ป่วยอ้าปากหายใจยาว ๆ
เช็ดรอยพลาสเตอร์ด้วยเบนซิน เช็ดตามด้วยน้ำเกลือและแอลกอฮอล์แล้วเช็ดให้แห้ง
ทำความสะอาดปาก ฟัน และจมูก เพื่อช่วยให้รู้สึกสะอาด และสดชื่น
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
เหมือนกับการให้อาหารทางสาย NG tube
วิธีปฏิบัติ
จัดให้อยู่ในท่านั่ง หรือนอนในท่าศีรษะสูง
ล้างมือให้สะอาด ใส่ Mask
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
หักพับสาย ถอด Syringe แล้วดึง Plunger ออก และต่อกระบอกสูบเข้ากับสายให้อาหาร
ใช้ Toomey syringe ต่อกับปลายสายดูด Gastric content เพื่อตรวจสอบความสามารถของกระเพาะอาหารในการบีบไล่อาหารไปยังลำไส้เล็ก
เทอาหารใส่กระบอก Syringe และปล่อยให้อาหารไหลเข้าช้า ๆ
ปลดผ้าก๊อซที่หุ้มปลายสายให้อาหารออกท าความสะอาดปลายสายด้วยสำลี
เช็ดปลายสายให้อาหารด้วยสำลีชุบ 70% Alcohol
หักพับปลายสายให้อาหาร เพื่อป้องกันอากาศเข้าไปในกระเพาะอาหาร
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมอย่างน้อย 30 นาที เพื่อป้องกันอาหารไหลย้อน
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
BulimiaNervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน เมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็นอาหาร
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะAnorexianervosaและBulimianervosa
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทานโดยจะรับประทานวันละหลายๆ ครั้ง ครั้งละมากๆ
Obesity(ภาวะอ้วน)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจำกัดอาหารมื้อเย็น
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
จำกัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
Emaciation(ภาวะผอมแห้ง)
ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16กิโลกรัมต่อตารางเมตรและน้ำหนักลดลงตลอดเวลาและลดลงเป็นเวลานาน
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทานโดยจะรับประทานวันละหลายๆ ครั้ง ครั้งละมากๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยกำลังอาเจียน พยาบาลควรเฝ้าดูด้วยความเห็นใจ สงบ ไม่ตื่นเต้น ไม่แสดงท่าทีรังเกียจ คอยให้ความช่วยเหลืออย่างกระตือรือร้น
การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
จัดสิ่งแวดล้อม ดูแลให้อากาศถ่ายเท วางของให้เป็นระเบียบ ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายและพักผ่อนได้
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ ลดการรบกวนจากภายนอก
น้ำและอาหาร ในระยะแรกให้งดอาหารและน้ำ และเริ่มให้ทีละน้อย เมื่ออาการดีขึ้นจึงให้อาหารธรรมดา
สังเกตสิ่งต่างๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง ได้แก่ อาการที่เกิดร่วมกับการอาเจียน ลักษณะของอาเจียน จำนวน เวลาที่อาเจียน สัญญาณชีพ
การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียนเมื่อพบผู้ป่วยจะอาเจียน พยาบาลต้องรีบให้การช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัยและสุขสบาย
การล้างภายในกระเพาะอาหาร(Gastric lavage)
อุปกรณ์เครื่องใช้
ผ้าเช็ดปากหรือผ้าขนหนูผืนเล็กหรือผ้ากันเปื้อน
สายยางส าหรับใส่ในกระเพาะอาหาร
ชามรูปไตหรืออ่างกลม
Ky jelly
สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหารใช้น้ำเกลือ (Isotonic saline)
ถุงมือสะอาด 1 คู่และ Mask
ชุดล้างกระเพาะอาหาร (ภาชนะส าหรับใส่สารละลายทั้งสำหรับเทสารละลายและที่ดูดออกจากผู้ป่วย และ Toomey syringe)
วิธีปฏิบัติ
ล้างมือก่อนจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้พร้อม นำเครื่องใช้ต่างๆ ใส่ถาดหรือรถเข็นแล้ว
ประเมินสภาพผู้ป่วยอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจปิดประตูหรือกั้นม่านให้เรียบร้อย
ปูผ้าคลุมบนเตียงและตัวผู้ป่วยตรงที่จะปลดสาย
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
ใช้Toomey syringe ดูดสารละลาย 50 ซีซี
หักพับสายไว้ก่อนปลดรอยต่อ จากนั้นต่อสายกับกระบอกฉีดยาแล้วปล่อยสายที่หักพับไว้ ค่อยดันสารละลายผ่านกระบอกฉีดยาเข้าทางสา
ดูดน้ าออกเบาๆ หรือปล่อยให้สารละลายไหลออกเอง
ใส่สารละลายเข้าไปแล้วปล่อยหรือดูดน้ าออกเรื่อยๆ จนการไหลผ่านดี หรือครบจ านวนตามแผนการรักษาพับสายไว้
ถ้ากรณีล้างกระเพาะอาหาร เพื่อห้ามเลือดในกระเพาะอาหาร ต้องท าการล้างจนสารน้ ามีลักษณะสีแดงจางที่สุด หรือมีลักษณะใส
เมื่อสิ้นสุดการล้างกระเพาะอาหารแล้ว ให้ทำความสะอาดช่องปากและจัดท่าผู้ป่วยในท่าที่สุขสบาย
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometri
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment:B
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment:C
ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment:D
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
S:ญาติผู้ป่วยบอกไม่สามารถกลืนอะไรได้เลย จิบน้ำแค่เล็กน้อยก็ไหลออกทางปาก
O:จากการสังเกต ผู้ป่วยมีสีหน้าท่าทางอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ผิวหนังแห้ง ผอมจนเห็นกระดูกชัดเจน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารได้เอง
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับสารอาหารตรงตามแผนการรักษาของแพทย์
ผู้ป่วยมีค่าดัชนีมวลกาย อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
บอกวัตถุประสงค์ เตรียมความพร้อมของผู้ป่วย จัดท่าให้เหมาะสม ปิดกั้นม่าน
ใส่สายยางทางจมูกถึงกระเพาะอาหารให้แก่ผู้ป่วยตามแนวปฏิบัติ
จัดเตรียมอุปกรณ์ในการใส่สาย NG และอาหารปั่นให้พร้อม ยกไปที่เตียงผู้ป่วย
ให้อาหารทางสายยางทางจมูกถึงกระเพาะอาหารตามแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา ชื่อผู้ป่วย และอาหารปั่นให้ตรงกัน
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูง อย่างน้อย 30 นาที หลังให้อาหารทางสายยาง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ติดตาม ประเมินน้ าหนักตัวของผู้ป่วย โดยชั่งน้ าหนักทุกเช้า วันเว้นวัน
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)สิ่งที่ต้องประเมิน คือ
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล