Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่ในอาหารหรือสารอาหาร
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของอาหารทั้ง
ทางด้านอินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ของอาหาร
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจำเป็นต้องได้รับสารอาหาร
ผล สภาพ หรือภาวะของร่างกายที่เกิดจากการบริโภคอาหาร
ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)
ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status)
ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (Malnutrition)
ภาวะโภชนาการเกิน (Over nutrition)
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
การใช้ยา พบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร
ภาวะสุขภาพ พบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
เพศ พบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
ความชอบส่วนบุคคล
อายุ พบว่าในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอาย
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
วิถีชีวิต
เศรษฐานะ
ปัจจัยด้านจิตใจ
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
ความสำคัญของอาหารต่อความเจ็บป่วย และความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ขึ้นอยู่กับ เพศ อายุ
ส่วนสูง น้ำหนัก และความรุนแรงของโรค
เพื่อเสริมสร้างความเจริญเติบโตและการมีโภชนาการที่ดีให้แก่ร่างกาย
สารอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงานในการดำรงชีวิต และสร้างเสริมการเจริญเติบโต
สารอาหารจะเข้าสู่เซลล์เพื่อสร้างเสริม ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และปรับสมดุลให้
ร่างกายกลับมาสู่ภาวะปกติ หายจากการเจ็บป่วย
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement: A)
ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
การประเมินจากประวัติการรับประทาอาหาร
(Dietary assessment: D)
ชนิดของอาหารที่บริโภค
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
ประวัติการรับประทานอาหาร
การส่งเสริมภาวะโภชนาการใน
ผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
ผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติ
ของระบบทางเดินอาหาร
Bulimia Nervosa เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน
รับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ
ล้วงคอให้อาเจียนออกมาจนหมด
หรือกินยาระบายอย่างหนัก ตลอดจนอดอาหาร หลังจากรับประทานเสร็จ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ
Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
ดูแลด้านจิตใจ
หาสาเหตุ
การใช้ยา แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
พิจารณาและแนะนำเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย
หรือทำกิจกรรมตามสภาพร่างกายของผู้ป่วย
พยายามให้รับประทานอาหารทางปากมากที่สุด
การให้อาหารด้วยวิธีพิเศษ เช่น การให้อาหารทางสายที่ใส่ทางจมูก
Anorexia nervosa ภาวะเบื่ออาหาร
Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
อาการคลื่นไส้
ทำให้เกิดความไม่สุขสบาย รับประทาน
อาหารไม่ได้
คลื่นไส้ติดต่อกันแม้จะไม่อาเจียนก็ทำให้ร่างกายขาดอาหารได้
ความรู้สึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก
อาการอาเจียน
การที่มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหารหรือ
ลำไส้เล็กส่วนต้นออกมาทางปาก
เป็นผลจากมีการบีบตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
พยายามหลีกเลี่ยงและลดแหล่งของความเครียดต่าง ๆ
ให้ผู้ป่วยสูดหายใจเข้าออกลึก ๆ ยาว ๆ
พยายามหาสาเหตุแล้วแก้ไขที่สาเหตุ
หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวร่างกายหรือเปลี่ยนท่าเร็ว ๆ
พิจารณาให้ยาระงับอาเจียน (Antiemetic drug) ตามแผนการรักษา
ถ้าผู้ป่วยมีอาเจียนอย่างต่อเนื่องมักใส่สายเข้าทางจมูกลงสู่กระเพาะ
สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียน
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่อาเจียนออกได้สะดวก
จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน
คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยกำลังอาเจียน
การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
จัดสิ่งแวดล้อม
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ
ในระยะแรกให้งดอาหารและน้ำ และเริ่มให้ทีละน้อย
Obesity (ภาวะอ้วน)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจำกัดอาหารมื้อเย็น
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
จำกัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนขออาหาร
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด เป็นต้น
จัดให้นอนศีรษะสูง 45องศา - 60องศา
Dysphagia and aphagia
(ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนไม่ได้ (Aphagia)
ไม่สามารถกลืนได้ ไม่ว่าจะเป็นอาหารแข็ง
อาหารธรรมดา อาหารอ่อน อาหารเหลว
รุนแรงมากที่สุด คือ กลืนไม่ได้เลยแม้แต่น้ำหรือน้ำลาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
สังเกตและประเมินอาการ
ระมัดระวังการสำลัก
ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา
การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน ให้กำลังใจ การสังเกตและการดูแลเอาใจใส่ที่ดี
ภาวะกลืนลำบาก (Dysphagia)
ผู้ป่วยเกิดความลำบากในการกลืน
รู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร (Feeding)
อุปกรณ์เครื่องใช้
แก้วน้ำพร้อมน้ำดื่ม และหลอดดูดน้ำ
กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
ช้อนหรือช้อนส้อม
ผ้ากันเปื้อน
ถาดอาหารพร้อมอาหาร
วิธีปฏิบัติ
การป้อนอาหาร
หลังป้อนอาหารให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ บ้วนปาก หรือแปรงฟัน และเช็ดปากให้สะอาด
เก็บถาดอาหาร และเครื่องใช้ต่าง ๆ เมื่อผู้ป่วยรับประทานเสร็จ
ไม่ควรจ้องหน้าผู้ป่วย ระวังการตักอาหารเช็ดปากให้เมื่อเปื้อนอาหาร
ลงบันทึกทางการพยาบาล
จังหวะในการป้อนต้องสัมพันธ์กับเคี้ยวและกลืนของผู้ป่วย
ตักอาหารให้มีปริมาณที่เหมาะสม
สำหรับผู้ป่วยพิการ
ถ้าผู้ป่วยจับช้อนไม่ถนัดควรสาธิตการใช้ช้อนและส้อมในการตักอาหาร
ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย ควรรับประทานอาหารเหลว
การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
ปูผ้ากันเปื้อนตั้งแต่ใต้คางลงไป หากผู้ป่วยที่อยู่ในท่านอนตะแคง
ควรปูบนที่ไหล่และหมอนด้วย
วางถาดอาหารในตำแหน่งที่ผู้ป่วยสามารถมองเห็นชนิดของอาหารได้
จัดให้อยู่ในท่านั่ง กรณีที่นั่งไม่ได้จัดให้นอนตะแคงขวาเล็กน้อย
วางเครื่องใช้อื่น ๆ ในตำแหน่งที่สามารถหยิบได้สะดวก
ก่อนเวลาอาหาร แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายบ้าง
ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง
สำหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
สอบถามผู้ป่วยถึงความรู้สึกเกี่ยวกับอาหารในปาก
สอนวิธีการใช้ลิ้นและการกลืน
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือศีรษะสูงในลักษณะก้มเล็กน้อย
ควรเริ่มจากอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลวก่อน
ให้อาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ในขณะรับประทานอาหารควรหยุดพักเป็นระยะ ๆ
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric intubation)
วัตถุประสงค์
เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
ล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
เป็นการลดแรงดัน
เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เป็นทางให้อาหาร น้ำ หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้หรือได้รับไม่เพียงพอ
อุปกรณ์เครื่องใช้
แก้วน้ำ หลอดดูดน้ำ พลาสเตอร์
กระดาษเช็ดปาก ชามรูปไต ผ้าเช็ดตัว
Stethoscope,สารหล่อลื่น เช่น K.Y. jelly เป็นต้น
Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน ,ถุงมือสะอาด 1 คู่
ถาดสำหรับใส่เครื่องใช้ สาย NG tube เบอร์ 14-18 fr
วิธีปฏิบัติ
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์
จัดท่าให้ผู้ป่วย จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือนอนศีรษะสูง
นำอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบโดยดูป้ายชื่อ และสอบถาม
ชื่อ-สกุลผู้ป่วยให้ถูกต้อง
ใส่ถุงมือสะอาด และ Mask ตรวจดูรูจมูก ผนังกั้นจมูก
ตรวจสอบความถูกต้องของคำสั่งการรักษา ล้างมือให้สะอาด
เปิดซองสาย NG tube จากนั้นบีบ K.Y. jelly ลงด้านในของซองสาย NG
tube โดยยังไม่หล่อลื่นสาย NG tube
นำสาย NG tube วัดตำแหน่งที่จะใส่สาย
แล้วใช้พลาสเตอร์พันไว้เป็นเครื่องหมาย
เปิดห่อ Toomey syringe แล้วใส่ Plunger ให้เรียบร้อย
พันสาย NG ให้อยู่ในมือซ้าย พร้อมใส่สาย NG
บอกให้ผู้ป่วยตั้งศีรษะให้ตรงหรือเงยหน้าเล็กน้อย ใช้มือขวาจับปลายสาย
ด้านที่หล่อลื่นแล้ว สอดเข้าทางรูจมูก
เมื่อสายผ่านถึงคอ (Posterior nasopharynx) ผู้ใส่หักข้อมือเล็กน้อยให้
ผู้ป่วยก้มศีรษะลง บอกให้ผู้ป่วยช่วยกลืนสาย
ตรวจสอบว่าสาย NG เข้าไปถึงกระเพาะอาหาร
ใช้ Toomey syringe ต่อกับปลายสายด้านนอก และดูดน้ำย่อยจากกระเพาะอาหาร
ใช้ Toomey syringe ดูดลมประมาณ 10 ซีซี
ใช้พลาสเตอร์พันสายติดกับจมูก ให้สายอยู่ตรงกลางรูจมูกโค้งปลายสาย
ทำความสะอาดปาก และจมูกน้ำเครื่องใช้ไปทำความสะอาด เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีการให้
Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG
โดยใช้ Toomey syringe เหมาะ
สำหรับผู้ป่วยทั่วไป
เช่น ผู้ป่วยอัมพาต หรือผู้ป่วยที่มี
ปัญหาน้ำหนักตัวน้อย
Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG
โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo)
มีลักษณะคล้ายกับชุดให้สารน้้ำสามารถปรับจำนวนหยดของอาหาร
เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ เป็นต้น
วิธีปฏิบัติ
ปลดผ้าก๊อซที่หุ้มปลายสาย ทำความสะอาดปลายสาย
ตำแหน่งของสายให้อาหาร
ใช้ Toomey syringe ต่อกับปลายสาย ดูด Gastric content
วาง Stethoscope ที่บริเวณ Epigastrium และใช้ Toomey
syringe ดันอากาศ
ปูผ้ากันเปื้อนรองตรงปลายสายให้อาหาร
กรณีให้ยาหลังอาหาร
ก่อนที่อาหารจะหมดควรเหลืออาหารไว้ใน Syringe
ประมาณ 10 ซีซีและควรรินยาลงไปตรง ๆ
ก่อนยาจะหมด เหลือค้างใน Syringe ประมาณ 5 ซีซี
เติมน้้ำสะอาด เพื่อไล่เศษอาหารและยาที่ตกค้างอยู่ในสายให้อาหาร
ทำความสะอาดปาก ฟัน กรณีใช้เครื่องช่วยหายใจต้องทำการดูดเสมหะก่อน
หักพับสาย ถอด Toomey syringe แล้วดึง Plunger ออก และต่อกระบอก
สูบเข้ากับส่วนปลายของสาย NG
ไขหัวเตียงสูงเพื่อจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง
หักพับปลายสายให้อาหาร และเช็ดปลายสายด้วยสำลีชุบ 70% Alcohol
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผล ข้อดีและประโยชน์
เทอาหารใส่กระบอก Syringe คลายรอยพับออก และปล่อยให้อาหารไหลลงช้า ๆ
ปิดจุกสาย NG ใช้ก๊อสปิดไว้ให้เรียบร้อย
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมอย่างน้อย 30 นาที
เก็บเครื่องใช้ท าความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีปฏิบัติ
ปูผ้ากันเปื้อนหรือผ้าขนหนู และแกะพลาสเตอร์ที่ยึดสายจมูกออก
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้งและใส่ถุงมือ สวมmask
หักพับสาย และดึงสายออก
ตรวจคำสั่งการรักษา เพื่อยืนยันแผนการรักษา
เช็ดรอยพลาสเตอร์ด้วยเบนซิน เช็ดตามด้วยน้ำเกลือและแอลกอฮอล์
ไขหัวเตียงสูงเพื่อจัดให้ผู้ป่วยอยู่ท่านั่ง
ทำความสะอาดปาก ฟัน และจมูก
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผล
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วิธีปฏิบัติ
ใช้ Toomey syringe ต่อกับปลายสายดูด Gastric content
ปลดผ้าก๊อซที่หุ้มปลายสายให้อาหารออกทำความสะอาดปลายสาย
ด้วยสำลีชุบ 70% Alcohol
ล้างมือให้สะอาด ใส่ Mask ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
หักพับสาย ถอด Syringe แล้วดึง Plunger ออก และต่อกระบอกสูบเข้ากับสายให้อาหาร
เปิดเสื้อผ้าบริเวณ Gastrostomy tube หรือ Jejunostomy tube ออก
ปูผ้ากันเปื้อนไว้ใต้ Tube
เทอาหารใส่กระบอก Syringe และปล่อยให้อาหารไหลเข้าช้าๆ
แจ้งและอธิบายให้ผู้ป่วยจัดให้อยู่ในท่านั่ง หรือนอนในท่าศีรษะสูง
กรณีให้ยาหลังอาหารควรเหลืออาหารค้างใน Syringe ประมาณ 10 ซีซี
และควรรินยาลงไปตรงๆ ก่อนยาจะหมด เหลือค้างใน Syringe ประมาณ 5 มล.
เติมน้ำสะอาด เพื่อไล่เศษอาหารและยา
เช็ดปลายสายให้อาหารด้วยสำลีชุบ 70% Alcohol หักพับปลายสายให้อาหาร ปิดปลายสายอาหารให้เรียบร้อย ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมอย่างน้อย 30 นาที
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
วัตถุประสงค์
ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจำนวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
ตรวจสอบการอุดตันของสาย
ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
ในกรณีที่ไม่สามารถนำเสมหะจากผู้ป่วยไปตรวจได้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ผ้าเช็ดปาก หรือผ้าขนหนูผืนเล็ก หรือผ้ากันเปื้อน
สายยางสำหรับใส่ในกระเพาะอาหาร
ชามรูปไตหรืออ่างกลม
Ky jelly
สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหาร ใช้น้ าเกลือ (Isotonic saline)
ถุงมือสะอาด 1 คู่ และ Mask
ชุดล้างกระเพาะอาหาร
วิธีปฏิบัติ
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้พร้อม
ปูผ้าคลุมบนเตียงและตัวผู้ป่วยตรงที่จะปลดสาย
ล้างมือก่อนจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้
ใช้ Toomey syringe ดูดสารละลาย 50 ซีซี
ประเมินสภาพผู้ป่วย อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ ปิดประตูหรือกั้นม่านให้เรียบร้อย
หักพับสายไว้ก่อนปลดรอยต่อ จากนั้นต่อสายกับกระบอกฉีดยาแล้วปล่อยสาย
ที่หักพับไว้ ค่อยดันสารละลายผ่านกระบอกฉีดยาเข้าทางสาย
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
ดูดน้ำออกเบา ๆ หรือปล่อยให้สารละลายไหลออกเอง
ใส่สารละลายเข้าไปแล้วปล่อยหรือดูดน้ำออกเรื่อย ๆ จนการไหลผ่านดี หรือ
ครบจำนวนตามแผนการรักษา
ถ้ากรณีล้างกระเพาะอาหาร เพื่อห้ามเลือดในกระเพาะอาหาร ต้องทำการ
ล้างจนสารน้ำมีลักษณะสีแดงจางที่สุด หรือมีลักษณะใส
ลงบันทึกทางการพยาบาล
เมื่อสิ้นสุดการล้างกระเพาะอาหารแล้ว ให้ทำความสะอาดช่องปากและจัด
ท่าผู้ป่วยในท่าที่สุขสบาย
เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
จัดเตรียมอุปกรณ์ในการใส่สาย NG และอาหารปั่นให้พร้อม ยกไปที่เตียงผู้ป่วย
บอกวัตถุประสงค์ เตรียมความพร้อมของผู้ป่วย จัดท่าให้เหมาะสม ปิดกั้นม่าน
ตรวจสอบแผนการรักษา ชื่อผู้ป่วย และอาหารปั่นให้ตรงกัน
ใส่สายยางทางจมูกถึงกระเพาะอาหารให้แก่ผู้ป่วยตามแนวปฏิบัติ
ให้อาหารทางสายยางทางจมูกถึงกระเพาะอาหารตามแผนการรักษา
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูง อย่างน้อย 30 นาที หลังให้อาหารทางสายยาง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ติดตาม ประเมินน้ำหนักตัวของผู้ป่วย โดยชั่งน้ำหนักทุกเช้า วันเว้นวัน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารได้เอง
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
S: ญาติผู้ป่วยบอกไม่สามารถกลืนอะไรได้เลย จิบน้ำแค่เล็กน้อย
ก็ไหลออกทางปาก
O: จากการสังเกต ผู้ป่วยมีสีหน้าท่าทางอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ผิวหนังแห้ง ผอมจนเห็นกระดูกชัดเจน