Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอนามัยสิ่งแวดล้อม การบำบัดน้ำเสีย (Wast water) - Coggle Diagram
การอนามัยสิ่งแวดล้อม การบำบัดน้ำเสีย (Wast water)
ความหมาย
การบำบัดน้ำเสีย
หมายถึง การกำจัดหรือทำลายสิ่งปนเปื้อนในน้ำเสียให้หมดไป หรือเหลือน้อยที่สุดให้ได้มาตรฐานที่กำหนดและไม่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม น้ำเสียจากแหล่งต่างกันจะมีคุณสมบัติไม่เหมือนกันดังนั้นกระบวนการบำบัดน้ำจึงมีหลายวิธี โดยระบบบำบัดน้ำเสียทั่วไปมี 3 วิธี
กระบวนการทางชีววิทยา (Biological Process)
กระบวนการทางชีววิทยา (biological process) เป็นการอาศัยหลักการใช้จุลินทรีย์ต่าง ๆ มาทำการย่อยสลายเปลี่ยนอินทรีย์สารไปเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และแอมโมเนีย เป็นการบำบัดน้ำเสียที่ดีที่สุดในแง่ของการลดปริมาณสารอินทรีย์ในแหล่งน้ำ
กระบวนการทางกายภาพ (physical process)
กระบวนการทางกายภาพ (physical process) เป็นการบำบัดน้ำเสียอย่างง่ายซึ่งจะแยกของแข็งที่ไม่ละลายน้ำออก วิธีนี้จะแยกตะกอนได้ประมาณ 50-65% ส่วนเรื่องการแยกความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์ (BOD5) ประมาณ 20-30% เท่านั้น วิธีการต่าง ๆ ในกระบวนการนี้มีหลายวิธี เช่น การดักด้วยตะแกรง (screening) เป็นการแยกเศษขยะต่าง ๆ ที่มากับน้ำเสีย เช่น เศษไม้ ถุงพลาสติก กระดาษ ตะแกรงมีหลายขนาด การดักด้วยตะแกรงจึงเป็นการแยกขั้นตอนแรกในการบำบัดน้ำเสีย การตัดย่อย (combination) คือ การใช้เครื่องตัดทำลายเศษขยะขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง การกวาด (skimming) เป็นการกำจัดนำมันและไขมันโดยทำการดักหรือกวาดออกจากน้ำเสีย การทำให้ลอย (floating) จะใช้กับตะกอนที่มีความถ่วงจำเพาะน้อยกว่าน้ำ การตกตะกอน (sedimentation) เป็นการแยกตะกอนออกจากน้ำเสียโดยอาศัยหลักการเรื่องแรงโน้มถ่วง ซึ่งจะใช้กับตะกอนที่มีความถ่วงจำเพาะมากกว่าน้ำ
กระบวนการทางเคมี (chemical process)
เป็นวิธีการบำบัดน้ำเสียโดยการแยกสารต่างๆ หรือสิ่งปนเปื้อนในน้ำเสียที่บำบัด เช่น โลหะหนัก สารพิษ สภาพความเป็นกรด ด่างสูงๆ ที่ปนเปื้อนอยู่ด้วยการเติมสารเคมีต่าง ๆ ลงไปเพื่อให้เข้าไปทำปฏิกิริยาซึ่งจะมีประโยชน์ในการแยกสาร
การทำให้เกิดตะกอน (precipitation)อาศัยหลักการเติมสารเคมีลงไปทำปฏิกิริยาทำให้เกิดกลุ่มตะกอนตกลงมา โดยทั่วไปสารแขวนจะมีประจุลบ ดังนั้นสารเคมีที่เติมลงไปจึงเป็นประจุบวกเพื่อทำให้เป็นกลาง
การเกิดรีดักชันทางเคมี (chemical reduction)
เป็นปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน วิธีการนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพของสารพิษไปเป็นสารที่มีอันตรายน้อยลง อะตอมหรืออิออน ของสารพิษจะรับอิเล็กตรอนจากสารเคมีที่เติมลงไปซึ่งมีสมบัติเป็นตัวรีดิวซ์ (reducing agent)
การเกิดออกซิเดชันทางเคมี (chemical oxidation) อาศัยหลักการเสียอิเล็กตรอนของอะตอม ให้แก่สารเคมีที่เติมลงไปในน้ำเสียโดยสารเคมีนี้จะทำหน้าที่เป็นตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent)
การสะเทิน (neutralization) เป็นการเปลี่ยนค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของน้ำเสียให้มีฤทธิ์เป็นกลาง (pH = 7) ถ้าต้องการปรับค่าน้ำเสียที่มีฤทธิ์เป็นกรด (pH < 7 ในน้ำเสียให้สูงขึ้นต้องเติมสารที่มีฤทธิ์เป็นด่าง
กระบวนการทางกายภาพ-เคมี (physical-chemical process)เป็นกระบวนการที่ต้องมีอุปกรณ์ช่วยมากกว่ากระบวนการที่กล่าวมา ซึ่งกระบวนการนี้จะใช้ในขั้นตอนสุดท้ายในการบำบัดน้ำเสีย
การดูดซับด้วยถ่าน (carbon adsorption) วิธีการนี้ใช้ผงถ่านหรือคาร์บอนเป็นตัวดูดซับสารเจือปนที่ละลายอยู่ในน้ำทิ้ง
การแลกเปลี่ยนประจุ วิธีการนี้อาศัยหลักการแลกเปลี่ยนประจุระหว่างสารปนเปื้อนในน้ำเสีย
กับตัวกลางที่บรรจุซึ่งมีทั้งประจุบวกและประจุลบ โดยจะมีการลำเลียงน้ำภายใน
ระบบบำบัดเป็นระบบบ่อชนิดต่างๆ ทั้งมีการใช้ออกซิเจนและไม่มีการใช้ออกซิเจน
บ่อที่มีออกซิเจน (aerobic pond) บ่อบำบัดที่ไม่ใช้ออกซิเจน เช่น บ่อหมัก (anaerobic pond)
อาศัยการทำงานของแบคทีเรียและสาหร่าย บ่อเหล่านี้ยังให้ผลพลอยได้ เช่น จะให้ก๊าซมีเทนมาใช้หุงต้มอาหาร
บ่อบำบัดที่ใช้ออกซิเจนที่อาศัยหลักการธรรมชาติและง่ายที่สุด เช่น ระบบ บ่อผึ่ง (oxidation pond)นอกจากนี้ยังมี บ่อเติมอากาศ (aerated Lagoon)
ระบบแบบนี้จึงเหมาะกับประเทศที่กำลังพัฒนาซึ่งมีข้อจำกัดในเรื่องการลงทุนและค่าใช้จ่าย
หลักการจัดการน้ำเสีย
การบำบัดน้ำเสีย (treatment)
:checkered_flag:การนำกลับมาใช้ประโยชน์ (reuse and reclamation
รถน้ำต้นไม้
ล้างตลาด
ล้างตลาด
การรวบรวมน้ำเสีย (collection)
:checkered_flag:ออกแบบเพื่อรวบรวมน้ำเสียและน้ำฝนรวมกันในท่อเดียวกันนำไปบำบัด ณ โรงบำบัดน้ำเสีย
ระบบบำบัดน้ำเสียโดยชีวภาพที่นิยมในประเทศไทยมีด้วยกัน 5 ระบบได้แก่
:checkered_flag:ระบบคลองวนเวียน (Oxidation Ditch - OD) ที่รพ.สปส
ระบบจานหมุนชีวภาพ (Rotating Biological Contactors - RBC)
ระบบบ่อผึ่ง (Oxidation Pond)
ระบบสระเติมอากาศ (Aerated Lagoon)
:checkered_flag: (อุบล)อาศัยหลักการทำงานของจุลินทรีย์ภายใต้สภาวะทีมีออกซิเจน Aerobic มีเครื่องเตืมอกาศ
ระบบเอเอส (Activited Sludge - AS)
ระบบบำบัดที่ใช้พื้นที่น้อย
:star:- ระบบตะกอนแขวนลอย (activated sludge, AS) ที่ต้องใช้เครื่องจักรกลมากที่สุดและมีค่าใช้จ่ายสูง แต่มีคุณภาพในการจัดการสูง
:star:- ระบบตะกอนยึดติดวัสดุ (Trickling Filter, TF)
:star:- ระบบคลองวนเวียน (oxidation ditch)
:star:- ระบบจานหมุน (rotating biological contractors)
การตรวจคุณภาพน้ำ
การตรวจและวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้งตามวิธีมาตรฐาน AWWA
:red_flag: - ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ทุกวัน
ทีดีเอส ( TDS )
ความเค็ม ( Salinity )
:recycle: - สารแขวนลอย ( SS )ทุก 2 สัปดาห์
โลหะหนัก (ปรอท)
เซเลเนียม
แคดเมียม
ฟีนอล
คลอรีนอิสระ
เพสติไซด์
สี
กลิ่น
:red_flag:- อุณหภูมิ ทุกวัน
น้ำมันและไขมัน
บีโอดี :recycle: (BOD)ทุก 2 สัปดาห์
ซีโอดี :recycle: (COD)ทุก 2 สัปดาห์
ทีเคเอ็น (TKN )