Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรรพคุณของสมุนไพรตามตำราแพทย์แผนโบราณ บทที่1/2, น.ส.สุทธิกมล หนองเหล็ก ปี…
สรรพคุณของสมุนไพรตามตำราแพทย์แผนโบราณ
บทที่1/2
หลักเภสัช 4 ประการ
จำแนกออกเป็น 4 บท ดังนี้
2. สรรพคุณเภสัช
คือ
รู้จักสรรพคุณของวัตถุนานาชนิดที่จะนำมาใช้เป็นยา
รู้รสของตัวยานั้นๆก่อน
การจำแนกรสยาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
1. ยารสประธาน
หมายถึง
รสของยาที่ปรุงหรือผสมเป็นตำรับแล้ว
แบ่งออกเป็น 3 รส ได้แก่
ยารสร้อน
ได้แก่ ยาเข้าสมุนไพรที่รสร้อน เช่น
ตรีกฏุก
เหง้าขิง
เบญจกูล
กะเพรา
นำมาปรุง เช่น
ยาสัณฑฆาต
ยาประสากานพลู
ยาไฟประลัยกัลป์
ยาประจุวาโย
มีสรรพคุณแก้ในกองวาโยธาตุ (ธาตุลม) ดังนี้
แก้ลมกองหยาบ
ลมจุกเสียดแน่น
ลมพรรดึก
บำรุงธาตุ
ใช้สำหรับแก้ไข้ในกองฤดูฝน
ยารสสุขุม
ได้แก่ ยาเข้าสมุนไพรที่ไม่ร้อน เช่น
โกฐเทียน
กระลำพัก
กฤษณา
นำมาปรุง เช่น
ยาหอมอินทจักร
ยาหอมเนาวโกฐ
ยาสังข์วิชัย
มีสรรพคุณแก้ในกองอาโปธาตุ (ธาตุน้ำ)
แก้ลมกองละเอียด
ลมวิงเวียน
แก้ไข้ที่ใช้ยารสเย็นไม่ได้
ใจสั่นหวั่นไหว
บำรุงกำลัง
ใช้สำหรับแก้ไข้ในกองฤดูหนาว
ยารสเย็น
ได้แก่ ยาเข้าสมุนไพรที่ไม่ร้อน เช่น
เขาสัตว์
์เขี้ยวสัตว์
นำมาปรุง เช่น
ยามหานิล,ยามหากาฬ
1 more item...
2. รสของตัวยา
แบ่งออกเป็น
ยา 6 รส
ได้แก่
เผ็ด
เค็ม
ฝาด
เปรี้ยว
หวาน
ขม
ยา 8 รส
ได้แก่
เปรี้ยว
หวาน
เค็ม
ขม
เผ็ดร้อน
หอมเย็น
ฝาด
มัน
ยา 4 รส
ได้แก่
เผ็ด
เค็ม
ฝาด
เปรี้ยว
ยา 9 รส
ได้แก่
หวาน
ขม
เปรี้ยว
หอมเย็น
เค็ม
มัน
เผ็ดร้อน
เมาเบื่อ
ฝาด
ดังนี้
หวาน
เช่น
น้ำอ้อย
รากชะเอม
มีสรรพคุณดังนี้
บำรุงกล้ามเนื้อ
บำรุงหัวใจ
บำรุงกำลัง
ทำให้เจริญอาหาร
แก้อ่อนเพลีย
แก้ไอ
แก้เสมหะ
แก้หอบ
หอมเย็น
เช่น
เตยหอม
เกสรทั้ง 5
มีสรรพคุณดังนี้
บำรุงหัวใจ ตับ ปอด
บำรุงครรภ์
แก้อ่อนเพลีย
ชูกำลัง
แก้กระหายน้ำ
เปรี้ยว
เช่น
น้ำมะนาว
มีสรรพคุณดังนี้
แก้เสมหะเหนียว
แก้ไอ
แก้กระหายน้ำ
แก้ท้องผูก
ขม
เช่น
มะระ
มีสรรพคุณดังนี้
แก้กระหายน้ำ
บำรุงโลหิตและน้ำดี
แก้ไข้
เจริญอาหาร
เค็ม
เช่น
เกลือ
ดินประสิว
มีสรรพคุณดังนี้
แก้โรคผิวหนัง
แก้เสมหะเหนียว
ขับปัสสาวะ
มัน
เช่น
ถั่วลิสง
งา
ถั่วเขียว
หัวแห้ว
มีสรรพคุณดังนี้
ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
แก้เส้นเอ็นพิการ
แก้ปวดเมื่อย
บำรุงไขข้อ
เผ็ดร้อน
มีสรรพคุณดังนี้
ขับเหงื่อ
ช่วยย่อย
เช่น
ขิง
กระชาย
เมาเบื่อ
เช่น
กัญชา
ใบกระท่อม
ใบลำโพง
มีสรรพคุณดังนี้
แก้พิษ
แก้พยาธิ
ฝาด
มีสรรพคุณดังนี้
สมานแผล
แก้ท้องเสีย
เช่น
ทับทิมทั้ง5
เปลือกลูกมังคุด
3. คณาเภสัช
คือ
การจัดหมวดหมู่ตัวยาเป็นกลุ่ม เป็นพวก เพื่อความสะดวกแก่การจดจำหรือเขียนตำรา
เรียกว่า
“พิกัดยา”
แบ่งเป็น
จุลพิกัด
2 more items...
พิกัด
2 more items...
มหาพิกัด
2 more items...
1. เภสัชวัตถุ
คือ
รู้จักวัตถุธาตุนานาชนิดที่จะนำมาเป็นยารักษาโรค
รู้ลักษณะพื้นฐานของตัวยาหรือสมุนไพรแต่ละชนิด
คือต้องรู้จัก
ชื่อ
ลักษณะ
สี
กลิ่น
รส
ตามคัมภีร์แพทย์แผนโบราณกล่าวไว้ว่า
“สรรพวัตถุต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาในโลกนี้ล้วนเกิดขึ้นแต่ธาตุทั้ง 4 ย่อมเป็นยารักษาโรคได้ทั้งสิ้น”
จำแนกออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
ประเภทที่ 2 สัตว์วัตถุ
ได้แก่ ร่างกายและอวัยวะของสัตว์ทั้งหลาย
ประเภทที่ 3 ธาตุวัตถุ
ได้แก่ แร่ธาตุต่างๆ ที่เกิดขึ้นเอง หรือสิ่งที่ประกอบขึ้นจากแร่ธาตุ หรือสิ่งสังเคราะห์ขึ้น
ประเภทที่ 1 พืชวัตถุ
ได้แก่ พรรณไม้ต่างๆ
หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
สี
คือ
การรู้สีของตัวยานั้นว่ามีสีอะไร
เช่น
ใบไม้มีสีเขียว
กระดูกสัตว์มีสีขาว
แก่นฝางมีสีแดง
ยาดำมีสีดำ
กำมะถันมีสีเหลือง
จุนสีมีสีเขียว
กลิ่น
คือ
การรู้กลิ่นของตัวยานั้นว่ามีกลิ่นเป็นอย่างไร
เช่น
กลิ่นหอมจะมี
6 more items...
กลิ่นเหม็นจะมี
4 more items...
รส
คือ
การรู้รสของตัวยานั้นว่ามีรสเป็นอย่างไร
เช่น
มะนาวมีรสเปรี้ยว
น้ำาผึ้งมีรสหวาน
พริกไทยมีรสร้อน
ชื่อ
คือ
การรู้ชื่อของตัวยานั้นว่าเขาสมมติชื่อเรียกไว้อย่างไร
รูป
คือ
การรู้รูปลักษณะของตัวยานั้นว่ามีรูปร่างที่ปรากฏเป็นอย่างไร
ตัวยาประจำธาตุ
ในร่างกายของมนุษย์เราประกอบขึ้นจากธาตุทั้ง 4 ชนิด คือ
ธาตุน้ำ 12 ประการ
รากช้าพลู
ธาตุลม 6 ประการ
เถาสะค้าน
ธาตุดิน 20 ประการ
ดอกดีปลี
ธาตุไฟ 4 ประการ
รากเจตมูลเพลิง
และอากาศธาตุ
คือ
ช่องว่างในร่างกาย 10 ประการ
รากเจตมูลเพลิง
4. เภสัชกรรม
คือ
รู้จักการปรุงยา ผสมเครื่องยาหรือตัวยา ตามที่กำหนดในตำรับยา
วิธีปรุงยา
หมายถึง
การผสมสมุนไพรต่างๆเพื่อแปรสภาพให้เป็น
ยารักษาโรคและป้องกันโรค
ให้มีสรรพคุณแรงพอที่จะบำบัดโรคได้
หลักการปรุงยา
ตัวยาตรง
คือ
ยาบำบัดโรค
ตัวยาช่วย
คือ
เมื่อมีโรคแทรก โรคตาม หรือโรคหลายโรครวมกัน ก็ใช้ยาช่วยเสริมเข้าไป
ตัวยาประกอบ
เพื่อป้องกันโรคตาม และช่วยบำรุง แก้ส่วนที่หมอเห็นควร
ใช้เป็นยาคุมฤทธิ์ยาอื่น
ตัวยาชูกลิ่น ชูรส และแต่งสีของยา
การปรุงยาตามแบบแผนโบราณ
มี 28 วิธีดังต่อไปนี้
2) ยาดองแช่ด้วยน้ำท่าหรือน้ำสุรา แล้วรินแต่น้ำกิน
3) ยากัดด้วยเหล้าหรือแอลกอฮอล์ และหยดลงในน้ำเติมน้ำกิน
1) ยาสับเป็นชิ้นเป็นท่อนใส่ลงในหม้อ เติมน้ำต้มแล้วรินแต่น้ำกิน
4) ยาเผาเป็นด่าง เอาด่างมาแช่น้ำไว้ แล้วรินแต่น้ำกิน
5) ยากลั่นเอาน้ำเหงื่อ เอาด่างมาแช่น้ำไว้ แล้วรินแต่น้ำกิน
6) ยาหุงด้วยมัน เอาน้ำมันใส่กล่อง เป่าบาดแผล และฐานฝี
7) ยาผสมแล้ว ต้มเอาน้ำบ้วนปาก
8) ยาผสมแล้ว ต้มเอาน้ำอาบ
9) ยาผสมแล้ว ต้มเอาน้ำแช่
10) ยาผสมแล้ว ต้มเอาน้ำสระ
11) ยาผสมแล้ว ต้มเอาน้ำสวน
12) ยาต้มเป็นผงแล้ว บดให้ละเอียดละลายน้ำกระสายกิน
13) ยาเผาหรือคั่วให้ไหม้ ตำเป็นยาผงบดให้ละเอียด ละลายน้ำกิน
14) ยาผสมแล้ว ทำเป็นผง กวนให้ละเอียดใส่กล่องเป่าทางจมูกและคอ
15) ยาผสมแล้วม้วนเป็นบุหรี่ หรือยัดกล้องสูบ
16) ยาผสมแล้ว มาเป็นยาธาตุ
17) ยาผสมแล้ว ทำเป็นลูกประคบ
18) ยาผสมแล้วใช้เป็นยาพอก
19) ยาผสมแล้ว บดละเอียดเป็นผงแล้วปั่นเป็นเม็ดหรือเม็ดลูกกลอน กลืนกิน
20) ยาผสมแล้ว บดผงปั่น เป็นแผ่นหรือปั่นเป็นแท่ง แล้วใช้เหน็บ
21) ยาผสมแล้ว บดผงผสมตอกอัดเม็ด
22) ยาผสมแล้ว บดผงทำเม็ดแล้วเคลือบ
23) ยาผสมแล้ว ทำเป็นเม็ดแคปซูล (ต้องมีคำว่า “แผนโบราณ” อยู่บนแคปซูล)
24) ยาผสมแล้ว ห่อผ้าบรรจุลงในกลักแล้วเอาไว้ใช้ดม
25) ยาผสมแล้ว ใส่กล่องติดไฟใช้ควันเป่าบาดแผลและฐานฝี
26) ยาผสมแล้ว เผาไฟหรือโรยบนถ่านไฟ ใช้ควันรม
27) ยาผสมแล้ว ต้มเอาไอรมหรืออบ
28) ยาผสมแล้ว กวนเป็นยาขี้ผึ้งปิดแผล ซึ่งเรียกว่ายากวน
การคัดเลือกและเก็บตัวยา
• ถูกส่วน เช่น ใบเพสลาด หมายถึง ใบไม้ที่จวนแก่, ทั้ง 5 หมายถึง ราก ใบ ผล ดอก ต้น
• ถูกฤดูกาล ถูกช่วงเวลาและถูกช่วงอายุพืช
• เก็บยาให้ถูกต้น
การเก็บรักษาตัวยาสมุนไพร
ตัวยาที่นำมาปรุงยา ต้องทำความสะอาดให้ปราศจากสิ่งปนเปื้อนต่าง ๆ
พวกพืชที่มีกลิ่นหอมจำพวกใบและดอก ไม่ควรเอาไปตากแดดโดยตรง
ตัวยาบางชนิด ถ้าเก็บไว้นาน คุณภาพของตัวยาจะเสื่อมไปตามกาลเวลา
ข้อควรเข้าใจโดยทั่วไป
ยาสำหรับใช้ภายใน ถ้าไม่ได้ระบุวิธีปรุงยา ให้เข้าใจว่าใช้วิธีต้ม
ยาสำหรับใช้ภายนอก ถ้าไม่ได้ระบุวิธีปรุงยา ให้เข้าใจว่าใช้ตำพอก
ถ้าไม่ได้บอกว่าใช้สมุนไพรสดหรือแห้ง ให้ถือว่าใช้สด
ยารับประทาน ให้รับประทานวันละ 3 ครั้งก่อนอาหาร
การใช้ตัวยาอันตราย
มีวิธีการทำให้ฤทธิ์ของยาอ่อนลง ดังนี้
การสะตุ
คือ
การทำให้มีพิษน้อยลง
การทำให้ตัวยานั้นสะอาดขึ้น
การทำให้ตัวยามีฤทธิ์อ่อนลง
เช่น
สารส้มสะตุ
การฆ่าฤทธิ์ตัวยา
คือ
การทำให้พิษของยาอ่อนลง
เช่น
1 more item...
การประสะ
คือ
การทำให้พิษของตัวยาอ่อนลง ให้ยาขนานนั้นมีตัวยาตัวหนึ่งขนาดเท่าตัวยาอื่นหนักรวมกัน
เช่น
1 more item...
กระสายยา
คือ
น้ำหรือของเหลวที่ใช้สำหรับละลายยา
เพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้
เพื่อให้กลืนยาง่าย ไม่ฝืดหรือติดคอ และช่วยแต่งให้มีรส สี กลิ่น น่ารับประทาน
เพื่อช่วยให้ยามีฤทธิ์ตรงต่อโรค นำฤทธิ์ยาให้แล่นเร็ว ทนต่ออาการของโรค
เพื่อเพิ่มสรรพคุณ ของยาให้มีฤทธิ์แรงขนึ้ หรือให้มีฤทธิ์ช่วยตวัยาหลักในการรักษาอาการข้างเคียง
น.ส.สุทธิกมล หนองเหล็ก ปี 2 รุ่น 37 เลขที่่ 91 รหัสนักศึกษา 622001094