Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ
และภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ
(Nutrition)
โภชนาการ หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของอาหารทั้งทางด้านอินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ของอาหาร
โดยเริ่มตั้งแต่อาหารเข้าสู่ร่างกาย ผ่านกระบวนการย่อย การดูดซึม
การใช้จ่ายสารอาหารต่าง ๆ ในร่างกาย
ภาวะโภชนาการ
(Nutritional Status)
ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status) มีสารอาหารครบถ้วน
ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status) ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
กระบวนการพยาบาลในการ
ส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ
(Assessment)
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Nausea and vomiting
(อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียน เมื่อพบผู้ป่วยจะอาเจียน พยาบาลต้องรีบให้การช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัยและสุขสบาย
เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้ำ
Abdominal distention
(ภาวะท้องอืด)
ภาวะท้องอืด เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่มทำให้เกิดอาการที่ตามมา เช่น ปวดท้อง
การพยาบาล
งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด
แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
จัดให้นอนศีรษะสูง เพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
Emaciation
(ภาวะผอมแห้ง)
Anorexia nervosa ภาวะเบื่ออาหาร
Bulimia Nervosa เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะ
รับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ
ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อ
ตารางเมตร
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ
Anorexia nervosa และ
Bulimia nervosa
หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อย ๆ เช่น โรคปากและฟัน
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
ดูแลด้านจิตใจ พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหารเป็นเวลาที่จิตใจสบาย
การใช้ยา แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร
Dysphagia and aphagia
(ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนไม่ได้(Aphagia) จึงไม่สามารถกลืนได้ไม่ว่าจะเป็นอาหารแข็ง อาหารธรรมดา อาหารอ่อน อาหารเหลว กลืนไม่ได้แม้แต่น้ำลาย
การพยาบาลผู้ป่วย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนลำบาก
ระมัดระวังการสำลัก
ภาวะกลืนลำบาก (Dysphagia) เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วย
เกิดความลำบากในการกลืน
Obesity
(ภาวะอ้วน)
มีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
การพยาบาล
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจำกัดอาหารมื้อเย็น
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
จำกัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
การประเมินภาวะ
โภชนาการ
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement: A)
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment:D)
ปัจจัยที่มีผลต่อ
ภาวะโภชนาการ
ความชอบส่วนบุคคล
ผลจากจากดื่มแอลกอฮอร์
อายุ เพศ การใช้ยา ภาวะสุขภาพ
วิถีชีวิต
ความสำคัญของอาหาร
ต่อภาวะเจ็บป่วย
ภาวะเจ็บป่วยความต้องการพลังงานต้องมากกว่าในภาวะปกติ เพราะต้องช่วยในการสร้างฟื้นฟู และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอทำให้ร่างกายหายเป็นปกติ มีสุขภาวะสมบูรณ
อาหาร (Food) และสารอาหาร (Nutrient) มีความส าคัญต่อภาวะการเจ็บป่วย และด้วยศาสตร์การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์ทางการแพทย์ผสมผสาน
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วย
ที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การให้อาหารทางสายยางให้อาหาร
จากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะสำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง เช่น ผู้ป่วยอัมพาต
Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo) มีลักษณะคล้ายกับชุดให้สารน้ำสามารถปรับจำนวนหยดของอาหาร
การถอดสายยางให้อาหาร
จากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
เป็นการถอดสายยางที่เคยใส่ไว้เพื่อ
วัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง
การถอดสายให้อาหารออกนั้นเป็นบทบาทกึ่งอิสระของพยาบาลเช่น ให้เริ่มรับประทานอาหารหลังจากแผนการรักษาให้งดอาหารและน้ำทางปาก
การใส่และถอดสายยางให้อาหาร
จากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ (Decompression) เพื่อให้
แก๊ส สิ่งที่ค้างอยู่หรือน้ำคัดหลั่งระบายออก
เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
เป็นทางให้อาหาร น้ำ หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วย
รับประทานทางปากไม่ได้หรือได้รับไม่เพียงพอ
ล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การให้อาหารทางสายยางให้อาหาร
ที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
การป้อนอาหาร
(Feeding)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
ได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
วิธีปัฏิบัติ
การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
การป้อนอาหาร
สำหรับผู้ป่วยพิการ
สำหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
การล้างภายใน
กระเพาะอาหาร
(Gastric lavage)
การล้างภายในกระเพาะอาหาร
ใช้มากในกรณีที่รับประทานยาพิษ
ได้รับยาเกินขนาด (Over dose)
วัตถุประสงค์
ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจ านวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
ตรวจสอบการอุดตันของสาย
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
ในกรณีที่ไม่สามารถนาเสมหะจากผู้ป่วยไปตรวจได้