Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
วิิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของอาหารทั้ง
ทางด้านอินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ของอาหาร โดยเริ่มตั้งแต่อาหารเข้าสู่ร่างกายผ่านกระบวนการย่อย การดูดซึม การใช้จ่ายสารอาหารต่าง ๆ ในร่างกาย การเก็บสะสมสารอาหารที่
เหลือใช้ และการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
1) ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่
ถูกหลักโภชนาการ
2) ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status)
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
อายุ
เพศ
การใช้ยา
ความชอบส่วนบุคคล
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
วิถีชีวิต
เศรษฐานะ
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
ภาวะสุขภาพ
ปัจจัยด้านจิตใจ
ความสำคัญของอาหารต่อความเจ็บป่วย และความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
มีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งในภาวะปกติ และภาวะเจ็บป่วยภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านเป็นการสืบทอดองค์ความรู้จากบรรพบุรุษในการดูแลสุขภาพของตนเองครอบครัว และชุมชน ภายใต้บริบทของวัฒนธรรม และประเพณีของท้องถ
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน
ความต้องการพลังงานทั้งหมด
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
1) ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
การประเมินทางชีวเคมี
การตรวจร่างกายทางคลินิก
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มี
ปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity (ภาวะอ้วน)
ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป มีค่าดัชนีมวล
กาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
การวัดขนาดรอบเอวในผู้ชายรอบเอวมากกว่า 40 นิ้ว ผู้หญิง 35 นิ้ว
อัตราส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพก เพศชาย ≥ 0.9 เพศหญิง ≥ 0.85
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร
Bulimia Nervosa
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะรับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ โดยหลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
1) หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อย ๆ
2) ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
3) ดูแลด้านจิตใจ
4) การใช้ยา
5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
อาการคลื่นไส้
เป็นความรู้สึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก
มักเป็นอาการนำก่อนอาเจียน แต่อาจเกิดคลื่นไส้โดยไม่อาเจียนได้
อาการอาเจียน
การที่มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้นออกมาทางปาก
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม
ทำให้เกิดอาการที่ตามมา
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความลำบากในการกลืน อาจรู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วย
ที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร
การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก โดยผู้ป่วยอาจไม่สะดวกในการใช้มือในการตักอาหาร หรือมีความอ่อนเพลียจากการเจ็บป่วย
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตาม
ความต้องการของร่างกาย
การใส่สายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การใส่สายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า การใส่ NG tube โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการรักษาที่แตกต่างกัน
วัตถุประสงค์
1) เป็นทางให้อาหาร น้ำ หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้หรือได้รับไม่เพียงพอ
2) เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ (Decompression) เพื่อให้แก๊ส สิ่งที่ค้างอยู่หรือน้ าคัดหลั่งระบายออก มักต้องต่อกับเครื่องดูดสุญญากาศ
4) ล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage) ใช้มากในกรณีที่กินยาพิษได้รับยาเกินขนาด (Over dose)
3) เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร (Compression)
5) เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
1) Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะสำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
2) Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo)มีลักษณะคล้ายกับชุดให้สารน้ำสามารถปรับจำนวนหยดของอาหาร และควบคุมเวลาการให้อาหารได้ตามความต้องการ
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
เป็นการถอดสายยางที่เคยใส่ไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง
แต่การถอดสายให้อาหารออกนั้นเป็นบทบาทกึ่งอิสระของพยาบาลเมื่อแผนการรักษาเปลี่ยนไป
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
การล้างภายในกระเพาะอาหาร ใช้มากในกรณีที่รับประทานยาพิษ ได้รับยาเกินขนาด (Over dose)
รวมถึงเป็นการล้างกระเพาะอาหารเพื่อห้ามเลือด สำหรับการตรวจโดยการส่องกล้อง เพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
3) ตรวจสอบการอุดตันของสาย
4) ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม ในกรณีที่ไม่สามารถนำเสมหะจากผู้ป่วยไปตรวจได้ ปัจจุบันไม่นิยมใช้เพราะใช้เครื่องดูดเสมหะได้
2) ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจ านวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
1) ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล