Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสรมิภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสรมิภาวะโภชนาการ
7 การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
ได้รับยาเกิน ขนาด (Over dose) รวมถึงเป็นการล้างกระเพาะอาหารเพื่อห้ามเลือด
สำหรับการตรวจโดยการส่อง กล้อง เพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร
การล้างภายในกระเพาะอาหาร ใช้มากในกรณีที่รับประทานยาพิษ
8 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
2 ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
5) ความชอบส่วนบุคคล
ความชอบและไม่ชอบบริโภคอาหารของแต่ละบุคคลมี ผลต่อภาวะโภชนาการ
6) ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ทาให้ความรู้สึกอยากอาหารลดลง
4) ภาวะสุขภาพ
การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
7) วิถีชีวิต
ผู้ที่เลือกรับประธานอาหารเจ เป็นเวลานาน ๆ หรือเลือกรับประทานตลอด ชีวิต พบว่ามักขาดสารอาหารโปรตีนจึงควรต้องเสริมอาหารโปรตีนที่ทำมาจากพืชให้เพียงพอกับความ ต้องการของร่างกาย
3)การใช้ยา
ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
8) เศรษฐานะ
ภาวะเศรษฐกิจดีทำให้ผู้คนเลือกรับประทานอาหารได้ตามความ ต้องการ ตรงกันข้ามในภาวะเศรษฐกิจไม่ดีการเลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์อาจลดปริมาณลง
2) เพศ
พบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
9) วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
การดำเนินชีวิตตามบริบทของวัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา ยังดำเนินชีวิตอยู่ในกระบวนทัศน์เดิม มีผลต่อภาวะโภชนาการทั้งสิ้น
1) อายุ
ในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่
10) ปัจจัยด้านจิตใจ
ความเครียด และความกลัวทำให้ความอยากอาหารลดลง รู้สึกเบื่ออาหาร กลืนอาหารไม่ลงคอ หรือมีอาการปากคอขมโดยไม่ทราบสาเหตุ
3 ความสาคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายใน ภาวะเจ็บป่วย
1 ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
อายุ
ส่วนสูง
เพศ
น้ำหนัก
ความรุนแรงของโรค
สูตร
สูตร BEE เพศชาย
BEE = 66.47+ (13.75 x น้าหนัก (Kg )) + (5. 00 x ความสูง (Cm )) – (6.75 x อายุ (ปี))
สูตร BEE เพศหญิง
BEE = 655.09 + (9.56 x น้าหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง (Cm )) –(4.68 x อายุ (ปี) )
อาหาร (Food) และสารอาหาร (Nutrient) มีความสาคัญต่อภาวะการเจ็บป่วย และ ด้วยศาสตร์การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์ทางเลือก การแพทย์ผสมผสาน
1 ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของอาหารทั้ง ทางด้านอินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ของอาหาร
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
1) ภาวะโภชนาการดี
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่ ถูกหลักโภชนาการ คือ มีสารอาหารครบถ้วน
2) ภาวะโภชนาการไม่ดี
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
(1)ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์(Malnutrition)
ภาวะที่ร่างกายได้รับ สารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ โดยอาจขาดสารอาหารเพียง 1 ชนิด หรือมากกว่า และอาจ ขาดพลังงานด้วยหรือไม่ก็ได้
(2) ภาวะโภชนาการเกิน (Over nutrition)
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหาร มากเกินความต้องการของร่างกาย และเก็บสะสมไว้จนเกิดอาการปรากฏ
4 การประเมินภาวะโภชนาการ
2 การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
การประเมินภาวะโลหิตจาง (Anemia)
ชาย ค่าปกติ 14 –18 mg %
หญิง ค่าปกติ 12-16 mg%
Hematocrit (Hct)
ชาย ค่าปกติ 40 –54 %
หญิง ค่าปกติ 37-47 %
3 การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
2) สังเกตดูลักษณะเล็บเรียบเป็นมัน มีสีชมพู
3) ตรวจดูฝ่ามือ ให้เทียบกันทั้ง 2 ข้าง
1) ตรวจ Conjunctiva ของเปลือกตาล่าง (ปกติจะมีสีชมพูค่อนข้างแดง)
1 การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement: A)
ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
BMI = น้าหนักตัว (กิโลกรัม)/ส่วนสูง(เมตร)2
4 การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment: D)
ชนิดของอาหารที่บริโภค
พฤติกรรมการรับประทาน อาหาร
ประวัติการรับประทานอาหาร
5 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
3 Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
การที่มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร หรือ ลำไส้เล็กส่วนต้นออกมาทางปาก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
1) การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียน เมื่อพบผู้ป่วยจะอาเจียน
(2) จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่อาเจียนออกได้สะดวก ช่วยลูบหลังลงเบาๆเพื่อ ป้องกันการสำลักอาเจียนเข้าสู่หลอดลม
(3) คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยกาลังอาเจียน พยาบาลควรเฝ้าดูด้วยความ เห็นใจ สงบ ไม่ตื่นเต้น ไม่แสดงท่าทีรังเกียจ คอยให้ความช่วยเหลืออย่างกระตือรือร้น
(1) จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน เตรียมกระดาษเช็ดปากหรือผ้าไว้ให้ผู้ป่วยสำหรับเช็ดปาก
2) สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
3) การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
(2) จัดสิ่งแวดล้อม ดูแลให้อากาศถ่ายเท วางของให้เป็นระเบียบ ทำให้
ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายและพักผ่อนได้
(4) น้ำและอาหาร ในระยะแรกให้งดอาหารและน้ำ และเริ่มให้ทีละน้อย เมื่อ อาการดีขึ้นจึงให้อาหารธรรมดา
(1) ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
(3) ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ ลดการรบกวนจากภายนอก
4) การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
(2) พยายามหลีกเลี่ยงและลดแหล่งของความเครียดต่างๆดูแลให้ผู้ป่วย
ผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ
(3) ให้ผู้ป่วยสูดหายใจเข้าออกลึกๆยาวๆภายหลังอาเจียน และเมื่อรู้สึก
คลื่นไส้
(1) พยายามหาสาเหตุแล้วแก้ไขที่สาเหตุ
(4) หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวร่างกายหรือเปลี่ยนท่าเร็วๆรวมทั้งหลีกเลี่ยง การมองสิ่งที่เคลื่อนไหวเร็วๆไปมาผู้ป่วยควรนอนพักท่าศีรษะสูง หลับตานิ่งๆ
(5) พิจารณาให้ยาระงับอาเจียน (Antiemetic drug) ตามแผนการรักษา
(6) ถ้าผู้ป่วยมีอาเจียนอย่างต่อเนื่องมักใส่สายเข้าทางจมูกลงสู่กระเพาะ อาหารเป็นทางให้อาเจียนออกหรือเป็นทางใส่สารละลายเข้าไปล้างกระเพาะอาหารในกรณีกินยาพิษ หรือสารพิษ
6) เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้ำ
5) ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
2 Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
2) ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร โดย จัดให้รับประทานอาหารในท่าสบาย รักษาความสะอาดโดยเฉพาะปากและฟัน
3) ดูแลด้านจิตใจ พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหารเป็นเวลาที่จิตใจสบาย สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายขณะที่รับประทานอาหารเท่าที่ทำได้
1) หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อย ๆ เช่น โรคปากและฟัน คออักเสบ โรคมะเร็ง เป็นต้นแล้วขจัดสาเหตุ
4) การใช้ยา แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร ในรายที่ไม่พบ โรคทางร่างกายและต้องการให้รับประทานอาหารมากขึ้นส่วนใหญ่จะใช้ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้าน Serotonin
5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
5.1 พยายามให้รับประทานอาหารทางปากมากที่สุด โดยอานวยความสะดวก และช่วยเหลือเกี่ยวกับการรับประทานตามความเหมาะสม
5.2 พิจารณาและแนะนาเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น ไข่ นม อาหารเสริมสาเร็จรูป เพิ่มมื้ออาหาร
5.4 การให้อาหารด้วยวิธีพิเศษเช่นการให้อาหารทางสายที่ใส่ทางจมูกถึง กระเพาะอาหาร การให้สารน้าทางหลอดเลือดดา การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ เป็นต้น
5.3 ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย หรือทำกิจกรรมตามสภาพ ร่างกายของผู้ป่วย ซึ่งจะทำให้ระบบทางเดินอาหารทางานได้ดีขึ้น
2 Bulimia Nervosa
วามผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะ รับประทานวันละหลายๆครั้ง ครั้งละมากๆโดยหลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจและ รู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไปมากมาย
1 Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทาน อาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน เมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็นอาหาร รับประทานแล้วไม่ค่อยรู้สึกอร่อย
1 Obesity (ภาวะอ้วน)
ค่าดัชนีมวล กาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
ขนาดรอบเอวในผู้ชายรอบเอวมากกว่า 40 นิ้ว (102 เซนติเมตร) ผู้หญิง 35 นิ้ว (88 เซนติเมตร)
อัตราส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพก เพศชาย ≥ 0.9 เพศหญิง ≥ 0.85
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
1) คานวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
2) จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
3) จำกัดการใช้น้ามัน ไขมัน น้ำตาล
4) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
5) รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจากัดอาหารมื้อเย็น
6) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
7) เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
8) ส่งเสริมให้ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
4 Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม ทำให้เกิดอาการที่ตามมา
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
1)จัดให้นอนศีรษะสูง45-60 เพื่อช่วยลดอาการแน่นท้องและผายลมสะดวก
2) งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด เป็นต้น
3) แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
4) ค้นหาสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลาบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนลำบาก (Dysphagia) เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความลำบากในการกลืน อาจ รู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
ภาวะกลืนไม่ได้ (Aphagia) จึงไม่สามารถกลืนได้ ไม่ว่าจะเป็นอาหารแข็ง อาหาร ธรรมดา อาหารอ่อน อาหารเหลว จนกระทั่งรุนแรงมากที่สุด คือ กลืนไม่ได้เลยแม้แต่น้ำหรือน้ำลาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลาบากและกลืนไม่ได้
2) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
3) ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
1) สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนลำบากว่าเกิดขึ้น ทันทีทันใดหรือค่อย ๆ มากขึ้น
4) ระมัดระวังการสาลัก
5) ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะความสะอาดของปากและฟัน
6) การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา การตรวจรักษาโดยการส่องกล้องเข้าไป ดูที่หลอดอาหาร
7) การดูแลด้านจิตใจปลอบโยนให้กาลังใจ การสังเกตและการดูแลเอาใจใส่ที่ดี สามารถบอกถึงสาเหตุและอาจแก้ไขอาการได้
6 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
3 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
1) Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะ สำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง เช่นผู้ป่วยอัมพาตหรือผู้ป่วยที่มี ปัญหาน้ำหนักตัวน้อย เป็นต้น
2) Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo)
4 การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การถอดสายให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร เป็นการถอดสายยางที่เคยใส่ไว้เพื่อ วัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง แต่การถอดสายให้อาหารออกนั้นเป็นบทบาทกึ่งอิสระของพยาบาล เมื่อแผนการรักษาเปลี่ยนไป
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
2) เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลาไส้(Decompression)เพื่อให้ แก๊ส สิ่งที่ค้างอยู่หรือน้ำคัดหลั่งระบายออก มักต้องต่อกับเครื่องดูดสุญญากาศ
4) ล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage) ใช้มากในกรณีที่กินยาพิษ ได้รับยาเกินขนาด (Over dose)
3) เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
5) เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) เป็นทางให้อาหาร น้ำ หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้หรือ ได้รับไม่เพียงพอ
5.การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
1 การป้อนอาหาร (Feeding)
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถาดอาหารพร้อมอาหาร
2) ช้อนหรือช้อนส้อม
3) แก้วน้าพร้อมน้าดื่ม และหลอดดูดน้า
4) กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
5) ผ้ากันเปื้อน
วิธีปฏิบัติ
2) การป้อนอาหาร
(3) ไม่ควรจ้องหน้าผู้ป่วย ระวังการตักอาหารไม่ทาอาหารหกรดผู้ป่วย และ เช็ดปากให้เมื่อเปื้อนอาหาร
(4) หลังป้อนอาหารให้ผู้ป่วยดื่มน้า บ้วนปาก หรือแปรงฟัน และเช็ดปากให้สะอาด
(2) จังหวะในการป้อนต้องสัมพันธ์กับความสามารถในการรับประทานอาหาร เคี้ยวและกลืนของผู้ป่วย
(5) เก็บถาดอาหาร และเครื่องใช้ต่างๆเมื่อผู้ป่วยรับประทานเสร็จ
(1) ขณะป้อนอาหารตักอาหารให้มีปริมาณที่เหมาะสม
(5) เก็บถาดอาหาร และเครื่องใช้ต่างๆเมื่อผู้ป่วยรับประทานเสร็จ
3) สำหรับผู้ป่วยพิการ
(1) ถ้าผู้ป่วยจับช้อนไม่ถนัดควรสาธิตการใช้ช้อนและส้อมในการตักอาหารใส่ ปากหรือดัดแปลงที่จับของให้จับได้สะดวก
(2) ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย ควรรับประทานอาหารเหลวที่ สอดคล้องกับการแผนรักษาของแพทย์
1) การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
(3) ปูผ้ากันเปื้อนตั้งแต่ใต้คางลงไปหากผู้ป่วยที่อยู่ในท่านอนตะแคงควรปู บนที่ไหล่และหมอนด้วย
(4) วางถาดอาหารในตาแหน่งที่ผู้ป่วยสามารถมองเห็นชนิดของอาหารได้ บอกรายการอาหารและเชิญชวนให้เกิดความอยากอาหารมื้อนั้น
(2)จัดให้อยู่ในท่านั่งกรณีที่นั่งไม่ได้จัดให้นอนตะแคงขวาเล็กน้อย
(5) วางเครื่องใช้อื่น ๆ ในตาแหน่งที่สามารถหยิบได้สะดวก
(1) ก่อนเวลาอาหาร แนะนำให้ผู้ป่วยออกกาลังกายบ้าง โดยเฉพาะในรายที่ เคลื่อนไหวด้วยตนเองได้ และควรหลีกเลี่ยงการกระทาที่ทาให้เกิดความเจ็บปวดหรือไม่สุขสบาย
(6) ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง
4) สาหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
(2) สอบถามผู้ป่วยถึงความรู้สึกเกี่ยวกับอาหารในปาก เพื่อดูว่ามีอาหารที่เหลือค้างในปาก
(4) ควรเริ่มจากอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลวก่อน เพราะอาหารอ่อนจะง่ายต่อการ กลืน แต่อาหารเหลวจะทาให้สาลักง่าย
(3) สอนวิธีการใช้ลิ้นและการกลืน เพื่อช่วยให้การกลืนได้ดีขึ้น
(5) ให้อาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
(1) จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือศีรษะสูงในลักษณะก้มเล็กน้อยเพื่อป้องกัน
การสำลัก
(6) ในขณะรับประทานอาหารควรหยุดพักเป็นระยะ ๆ จะช่วยให้ได้ รับประทานอาหารได้มากขึ้น
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตาม ความต้องการของร่างกาย