Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
ภาวะโภชนาการดี
(Good nutritional status)
มีสารอาหารครบถ้วน
ภาวะทุพโภชนาการ
(Malnutrition)
ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (Malnutrition)
ภาวะโภชนาการเกิน (Over nutrition
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
ความชอบส่วนบุคคล
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
วิถีชีวิต
ภาวะสุขภาพ : การเจ็บป่วยเรื้อรัง
เศรษฐานะ
การใช้ยา : เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
เพศ : เพศชายต้องการพลังงานสูง
ปัจจัยด้านจิตใจ
อายุ : ในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมาก
การประเมินภาวะโภชนาการ
ABCD
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
การประเมินภาวะโลหิตจาง (Anemia)
การเจาะเลือด
การตรวจร่างกายทางคลินิก
(Clinical assessment: C)
ตรวจร่างกายเบื้องต้น
การประเมินภาวะซีด
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร
(Dietary assessment: D)
ประวัติการรับประทานอาหาร
ชนิดของอาหารที่บริโภค
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement: A)
BMI
ความสาคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและ
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
พลังงานที่ต้องการใช้ (Energy Expenditure: EE)
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน
(Basal energy expenditure: BEE)
ความต้องการพลังงานทั้งหมด
(Total Energy Expenditure: TEE)
TEE = BEE x Activity factor x stress factor
อาหารจึงมีความสาคัญและมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งในภาวะปกติ และภาวะ
เจ็บป่วย เพื่อเสริมสร้างความเจริญเติบโตและการมีโภชนาการที่ดีให้แก่ร่างกาย
การส่งเสริมภาวะโภชนาการใน
ผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity (ภาวะอ้วน)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
รับประทานอาหารครั้งละน้อย
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหาร
Bulimia Nervosa
รับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง
Nausea and vomiting
(อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
ความรู้สึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
ป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
ล้างกระเพาะอาหารในกรณีกินยาพิษ
สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงาน
อย่างถูกต้อง
ดูแลความสะอาดร่างกาย
ช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัย
และสุขสบาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหาร
ให้มากที่สุด
ดูแลด้านจิตใจ
การใช้ยา
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอ
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
ความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายท้อง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
จัดให้นอนศีรษะสูง 45 ํ-60 ํ
งดอาหารที่ทาให้เกิดแก๊ส
แสดงความเข้าใจและเห็นใจ
ค้นหาสาเหตุ
Dysphagia and aphagia
(ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้
ระมัดระวังการสำลัก
ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย
ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้าและอาหารอย่างเพียงพอ
การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน
สังเกตและประเมินอาการ