Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ :check: - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ :check:
8.3 ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย :!!:
อาหาร
ที่รับประทานเข้าไปจะย่อยได้สารอาหารสำคัญ ได้แก่คาร์โบไฮเดรตไขมันโปรตีนวิตามินและแร่ธาตุสิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงานในการดำรงชีวิต และสร้างเสริมการเจริญเติบโตดังนั้นอาหารจึงมีความสำคัญและมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งในภาวะปกติ และภาวะเจ็บป่วย
8.3.1ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานทั้งหมด (Total EnergyExpenditure:TEE)
สูตร BEE เพศชาย
BEE = 66.47+ (13.75 x น้ าหนัก(Kg )) + (5.00 x ความสูง (Cm )) –(6.75 x อายุ (ปี))
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน(Basal energyexpenditure:BEE)
สูตร BEE เพศหญิง
BEE = 655.09 + (9.56 x น้ าหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง(Cm )) –(4.68 x อายุ(ปี))
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้(Energy Expenditure:EE)
8.6การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้ :fist::skin-tone-2:
8.6.1 การป้อนอาหาร(Feeding)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถาดอาหารพร้อมอาหาร 2)ช้อนหรือช้อนส้อม3)แก้วน้ าพร้อมน้ าดื่ม และหลอดดูดน้ า4)กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก 5)ผ้ากันเปื้อน
8.6.2 การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร(Nasogastric intubation)
วัตถุประสงค์
3) เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
4) ล้างภายในกระเพาะอาหาร
2) เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้
5) เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1)เป็นทางให้อาหาร น้ำ หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถาดส าหรับใส่เครื่องใช้ 2)สายNG tube เบอร์ 14-18 fr.3) Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน 4) ถุงมือสะอาด 1 คู่5) Stethoscope6) สารหล่อลื่น เช่น K.Y. jellyเป็นต้น7) แก้วน้ า 8) หลอดดูดน้ า9) พลาสเตอร์ 10) กระดาษเช็ดปาก11) ชามรูปไต 12) ผ้าเช็ดตัว
8.6.3 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
หมายถึง
วิธีการให้อาหารแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก แต่การท างานของระบบทางเดินอาหารยังอยู่ในภาวะปกติ
1)Bolus dose
เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะส าหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
2)Drip feeding
เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร(Kangaroo) มีลักษณะคล้ายกับชุดให้สารน้ำสามารถปรับจำนวนหยดของอาหารและควบคุมเวลาการให้อาหารได้ตามความต้องการ เหมาะส าหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถาดส าหรับใส่เครื่องใช้2) อาหารเหลวส าเร็จรูป หรืออาหารปั่น (Blenderizeddiet)3) ในกรณีที่มียาหลังอาหารบดยาเป็นผงและละลายน้ าประมาณ 15-30 ซีซี4) ผ้ากันเปื้อน5) Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน 6) ถุงมือสะอาด 1 คู่7) Stethoscope8) แก้วน้ า 9) กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก10) ส าลีชุบ 70% Alcohol2 ก้อน 11) ชุดท าความสะอาดปาก ฟัน และจมูก
8.6.4 การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
เป็นการถอดสายยางที่เคยใส่ไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ผ้ากันเปื้อนหรือผ้าเช็ดตัว2) ชามรูปไต 3) น้ำยาบ้วนปาก 4) ส าลีชุบ70%Alcohol5) ไม้พันสำลีชุบเบนซิน (Benzene)และน้ำเกลือ (Normal saline)6) ถุงมือสะอาด7) ผ้าก๊อสสะอาด
8.6.5 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
อุปกรณ์
เครื่องใช้เหมือนกับการให้อาหารทางสาย NG tube
หมายเหตุ
: การให้อาหารวิธีนี้เป็นหัตถการโดยแพทย์ และมีรอยแผลต าแหน่งที่เปิดออกทางหน้าท้องจึงต้องท าแผลวันละครั้ง หรือเมื่อจ าเป็นและให้การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผลด้วย
8.2ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ :<3:
7) วิถีชีวิต
ปัจจุบันมีผู้เลือกดำเนินชีวิตตามวิถีสุขภาพโดยเลือกงดรับประทานสัตว์ ผู้ที่เลือกรับประธานอาหารเจ
8) เศรษฐานะ
พบว่า ภาวะเศรษฐกิจดีท าให้ผู้คนเลือกรับประทานอาหารได้ตามความต้องการ
6)ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
พบว่าทำให้ความรู้สึกอยากอาหารลดล
9) วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
พบว่ายังดำเนินชีวิตอยู่ในกระบวนทัศน์เดิม
5)ความชอบส่วนบุคคล
พบว่าความชอบและไม่ชอบบริโภคอาหารของแต่ละบุคคลมีผลต่อภาวะโภชนาการ
10)ปัจจัยด้านจิตใจ
พบว่าความเครียด และความกลัวทำให้ความอยากอาหารลดลง
4)ภาวะสุขภาพ
พบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
3)การใช้ยา
พบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
2)เพศ
พบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
1)อายุ
พบว่าในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ
8.1 ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ :eight_spoked_asterisk:
8.1.1 ความหมายของโภชนาการ(Nutrition)
เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะของการกิน(Science and art of feeding)
8.1.2 ภาวะโภชนาการ(Nutritional Status)
1) ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)
หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
2) ภาวะทุพโภชนาการ(Malnutrition)หมายถึง
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ หรือได้รับเพียงพอแต่ร่างกายไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารที่ได้รับ
1)ภาวะโภชนาการต่ ากว่าเกณฑ์ (Malnutrition)
หมายถึง ขาดสารอาหารเพียง 1 ชนิด หรือมากกว่า และอาจขาดพลังงานด้วยหรือไม่ก็ได้
2) ภาวะโภชนาการเกิน(Over nutrition)
หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย และเก็บสะสมไว้จนเกิดอาการปรากฏ
8.7 การล้างภายในกระเพาะอาหาร(Gastric lavage) :crossed_swords:
วัตถุประสงค์
1) ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
3) ตรวจสอบการอุดตันของสาย
2) ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจ านวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
4) ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม ในกรณีที่ไม่สามารถนำเสมหะจากผู้ป่วยไปตรวจได้
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ชุดล้างกระเพาะอาหาร 2) สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหารใช้น้ าเกลือ (Isotonic saline)3) ชามรูปไตหรืออ่างกลม4) ผ้าเช็ดปากหรือผ้าขนหนูผืนเล็กหรือผ้ากันเปื้อน 5) สายยางส าหรับใส่ในกระเพาะอาหาร6) Ky jelly7) ถุงมือสะอาด 1 คู่และ Mask
วิธีปฏิบัติ
7) หักพับสายไว้ก่อนปลดรอยต่อ จากนั้นต่อสายกับกระบอกฉีดยาแล้วปล่อยสายที่หักพับไว้ ค่อยดันสารละลายผ่านกระบอกฉีดยาเข้าทางสาย
8) ดูดน้ำออกเบาๆ หรือปล่อยให้สารละลายไหลออกเอง
6) ใช้Toomey syringe ดูดสารละลาย 50 ซีซี
9) ใส่สารละลายเข้าไปแล้วปล่อยหรือดูดน้ำออกเรื่อยๆ จนการไหลผ่านดี
5) ปูผ้าคลุมบนเตียงและตัวผู้ป่วยตรงที่จะปลดสาย
10) ถ้ากรณีล้างกระเพาะอาหารต้องท าการล้างจนสารน้ำมีลักษณะสีแดงจางที่สุด หรือมีลักษณะใส
4) เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้พร้อม
11)ห้ทำความสะอาดช่องปากและจัดท่าผู้ป่วยในท่าที่สุขสบาย
3) ล้างมือก่อนจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้
12) เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
2)ประเมินสภาพผู้ป่วยอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจปิดประตูหรือกั้นม่านให้เรียบร้อย
13) ลงบันทึกทางการพยาบาล
1)ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
8.5 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ :fist:
8.5.1 Obesity(ภาวะอ้วน)
คือ ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป รอบเอวมากกว่า 40 นิ้ว(102 เซนติเมตร)ผู้หญิง 35 นิ้ว (88 เซนติเมตร) อัตราส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพก เพศชาย ≥0.9 เพศหญิง ≥0.85
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
3)จำกัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
4)หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
5)รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจ ากัดอาหารมื้อเย็น
6)หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
2)จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
7)เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
8)ส่งเสริมให้ออกก าลังกายอย่างสม่ าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
1)คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
8.5.2 Emaciation(ภาวะผอมแห้ง)
1 Anorexianervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน เมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็นอาหาร รับประทานแล้วไม่ค่อยรู้สึกอร่อย
2 BulimiaNervosa
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทานโดยจะรับประทานวันละหลายๆ ครั้ง ครั้งละมากๆ โดยหลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจและรู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไปมากมาย
3การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะAnorexianervosaและBulimianervosa
1)หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อยๆ เช่น โรคปากและฟัน
2) ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
3)ดูแลด้านจิตใจ สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายขณะที่รับประทานอาหารเท่าที่ทำได้
4)การใช้ยา ส่วนใหญ่จะใช้ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้าน Serotonin
5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
5.1 พยายามให้รับประทานอาหารทางปากมากที่สุด
5.2 พิจารณาและแนะนำเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
5.3 ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย
5.4 การให้อาหารด้วยวิธีพิเศษ
8.5.3Nausea and vomiting
(อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
อาการอาเจียน
คือ การที่มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร หรือล าไส้เล็กส่วนต้นออกมาทางปาก เป็นผลจากมีการบีบตัวของลำไส้เล็กส่วนต้น หรือกระเพาะอาหารส่วนล่างอย่างแรง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
3) การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
4)การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
5)ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
6) เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้ า
2) สังเกตสิ่งต่างๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้องเพื่อสื่อความหมายให้เจ้าหน้าที่อื่นเกี่ยวข้องทราบ รายงานหัวหน้าทีมพยาบาลเพื่อรายงานแพทย์ทันที
1)การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียนเมื่อพบผู้ป่วยจะอาเจียน พยาบาลต้องรีบให้การช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัยและสุขสบาย
8.5.4Abdominal distention
(ภาวะท้องอืด)
ภาวะท้องอืด
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม ท าให้เกิดอาการที่ตามมา เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจีย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
1) จัดให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา เพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
2) งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด เป็นต้น
3) แสดงความเข้าใจและเห็นใจและยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
4) ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
8.5.5Dysphagia and aphagia
(ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนลำบาก(Dysphagia)
เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความลำบากในการกลืน อาจรู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่ง
ภาวะกลืนไม่ได้(Aphagia)
จึงไม่สามารถกลืนได้ นกระทั่งรุนแรงมากที่สุด คือ กลืนไม่ได้เลยแม้แต่น้ าหรือน้ าลาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้
2) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
3)ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
4)ระมัดระวังการสำลัก
5)ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะความสะอาดของปากและฟัน
1) สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนลำบากว่าเกิดขึ้นทันทีทันใดหรือค่อยๆ มากขึ้น
6)การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา
7)การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน ให้กำลังใจ
8.4 การประเมินภาวะโภชนาการ :page_facing_up:
8.4.1 การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement:A)
สูตร BMI
= น้ำหนักตัว (กิโลกรัม)/ส่วนสูง(เมตร)2
1) ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
เป็นการประเมินมวลของร่างกายทั้งหมด
8.4.2 การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment:B)
เป็นวิธีการเจาะเลือดเพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
8.4.3 การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment:C)
เป็นวิธีการตรวจร่างกาย เช่นเดียวกับการประเมินภาวะสุขภาพ แต่จะให้ความสนใจตรวจร่างกายเบื้องต้น ได้แก่ ผิวหนัง ผม ฟัน เหงือก ริมฝีปาก ลิ้น และเปลือกตา
8.4.4การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร (Dietary assessment:D)
ประกอบด้วย ประวัติการรับประทานอาหาร ชนิดของอาหารที่บริโภค พฤติกรรมการรับประทานอาหาร เป็นต้น
8.8กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ :silhouettes:
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
5.การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
3.การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)