Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ของการด ารงชีวิตของมนุษย์ การรับประทานอาหารให้ครบ5 หมู่ทำให้ร่างกายได้รับสารอาหารครบถ้วนมีประโยชน์ต่อร่างกายและภาวะโภชนาการซึ่งนักได้ให้ความหมายของโภชนาการ และภาวะโภชนาการไว้ดังนี้
ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
โภชนาการ หมายถึง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
ภาวะโภชนาการ หมายถึง สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจ าเป็นต้องได้รับสารอาหาร นำมาใช้ในด้านสรีระอย่างเพียงพอ ความสมดุลของสารอาหารที่ได้รับเข้าไปกับสารอาหารที่ร่างกายใช้
1) ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่
ถูกหลักโภชนาการ คือ มีสารอาหารครบถ้วน ในปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
2) ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status) หรือเรียกอีกอย่างว่า ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ หรือได้รับเพียงแต่ร่างกายไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารที่ได้รับ หรือการได้รับสารอาหารบางชนิดมากเกินความต้องการของร่างกาย จึงท าให้เกิดภาวะผิดปกติขึ้น ภาวะโภชนาการไม่ดี
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
5) ความชอบส่วนบุคคล พบว่าความชอบและไม่ชอบบริโภคอาหารของแต่ละบุคคลมี
ผลต่อภาวะโภชนาการ
บางคนรับประทานอาหารหวานจัด
บางคนรับประทานอาหารไขมันสูง
7) วิถีชีวิต ปัจจุบันมีผู้เลือกด าเนินชีวิตตามวิถีสุขภาพโดยเลือกงดรับประทานสัตว์และ
ผลิตภัณฑ์ที่ท ามาจากสัตว์ ผู้ที่เลือกรับประธานอาหารเจเป็นเวลานานๆหรือเลือกรับประทานอาหารตลอดชีวิต
4) ภาวะสุขภาพ พบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
9) วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา พบว่าการด าเนินชีวิตตามบริบทของวัฒนธรรม
ความเชื่อ และศาสนา ยังด าเนินชีวิตอยู่ในกระบวนทัศน์เดิม มีผลต่อภาวะโภชนาการทั้งสิ้น
3) การใช้ยา พบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน เช่น ยา
รักษาวัณโรค-พีเอเอส (Paraaminobenzoic acid: PAS) ยาลดความอ้วน ยารักษาโรคเบาหวานบาง
ตัว เช่น เฟนฟอร์มิน (Phenformin) เมตฟอร์มิน (Metformin) เป็นต้น และยังมีอีกหลายอย่างที่ท า
ให้เกิดการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ ถ้าต้องใช้เป็นระยะเวลานาน ๆ จะท าให้เกิดภาวะทุโภชนาการได
6) ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์พบว่า การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของท าให้ความรู้สึกอยากอาหารลดลง การบริโภคอาหารเปลี่ยนไป แบบแผนการรับประทานอาหารเปลี่ยนไป หรือเบื่ออาหาร
2) เพศ พบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
8) เศรษฐานะ พบว่า ภาวะเศรษฐกิจดีท าให้ผู้คนเลือกรับประทานอาหารได้ตามความ
ต้องการ ตรงกันข้ามในภาวะเศรษฐกิจไม่ดีการเลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์
1) อายุ พบว่าในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุเพราะเด็กต้องการสารอาหารโปรตีนไปสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ต้องการพลังงานจากสารอาหารคาร์โปรไฮเดรตและไขมันในปริมาณที่มากกว่าวัยอื่น ๆ
10) ปัจจัยด้านจิตใจ พบว่า ความเครียด และความกลัวท าให้ความอยากอาหารลดลง
รู้สึกเบื่ออาหาร กลืนอาหารไม่ลงคอ หรือมีอาการปากคอขมโดยไม่ทราบสาเหตุ
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายใน
ภาวะเจ็บป่วย
อาหาร หมายถึง สิ่งใด ๆ ซึ่งรับประทานเข้าไปแล้ว เพื่อเสริมสร้างความเจริญเติบโตการมีโภชนาการที่ดีให้แก่ร่างกาย อาหารได้มาจากพืชและสัตว์อาหารที่รับประทานเข้าไปจะย่อยสารอาหารสำคัญ ได้แก่คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน และ แร่ธาตุ
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
เพศ อายุ
ส่วนสูง น้ าหนัก และความรุนแรงของโรค สูตรค านวณความต้องการพลังงานพื้นฐาน
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะโภชนาการ ใช้สัญญาลักษณ์ย่อ “ABCD”แบ่งออกเป็น
1) ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B
เป็นวิธีการเจาะ
เลือด เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
เป็นวิธีการตรวจ
ร่างกายเช่นเดียวกับการประเมินภาวะสุขภาพ แต่จะให้ความสนใจตรวจร่างกายเบื้องต้น
การประเมินภาวะซีด ถ้าไม่มีการเจาะเลือดตามข้อ 6.4.2 ให้ใช้การตรวจร่างกาย
เบื้องต้น ดังนี้
1) ตรวจ Conjunctiva ของเปลือกตาล่าง (ปกติจะมีสีชมพูค่อนข้างแดง)
2) สังเกตดูลักษณะเล็บเรียบเป็นมัน มีสีชมพู (ลักษณะเล็บที่คล้ายรูปช้อน ผิวเรียบ แสดงถึงการขาดธาตุเหล็ก และลักษณะเล็บมีแถบสีขาวพาดขวาง แสดงถึงภาวะขาดโปรตีน) ตรงกลางเล็บแล้วปล่อย (ปกติจะกลับมาสีชมพูเหมือนเดิมไม่เกิน 2 วินาที)
3) ตรวจดูฝ่ามือ ให้เทียบกันทั้ง 2 ข้าง (ปกติจะมีสีชมพู)
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment: D)
มีประวัติรับประทานอาหารเจตลอดชีวิต
ผลการประเมิน: มีโอกาสขาดสารอาหารที่จ าเป็นต่อร่างกาย
มีประวัติชอบรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ
ผลการประเมิน: มีโอกาสเกิดโรคพยาธิใบไม้ในตับ
มีประวัติเลือกรับประทานอาหารประเภททอด และอาหารรสหวาน
ผลการประเมิน: มีโอกาสเกิดภาวะโภชนาการเกิน (น้ าหนักเกินมาตรฐาน)
การประเมินภาวะโภชนาการเป็นสิ่งส าคัญ ที่จะช่วยให้พยาบาลสามารถประเมินปัญหา
ของผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม และให้การพยาบาลได้ตรงจุดอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity (ภาวะอ้วน)
ภาวะอ้วน คือ ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป มีค่าดัชนีมวล
กาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป และจากการวัดขนาดรอบเอวในผู้ชายรอบมากกว่า 40 นิ้ว (102 เซนติเมตร) ผู้หญิง 35 นิ้ว (88 เซนติเมตร) อัตราส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพก
เพศชาย ≥ 0.9 เพศหญิง ≥ 0.85 (WHO อ้างในศิริพร ภัทรกิจกาจรและคณะ, 2554)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
จำกัดการใช้น้ำามัน ไขมัน น้ำตาล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจำกัดอาหารมื้อเย็น
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
ภาวะผอมแห้ง คือ ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อ
ตารางเมตร และน้ าหนักลดลงตลอดเวลาและลดลงเป็นเวลานาน
Anorexia nervosa ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทาน
อาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน เมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็นอาหาร รับประทานแล้วไม่ค่อยรู้สึกอร่อย
Bulimia Nervosa เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะรับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ โดยหลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจและรู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไปมากมาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อย ๆ เช่น โรคปากและฟัน คออักเสบ โรคมะเร็ง เป็นต้น
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร โดย
จัดให้รับประทานอาหารในท่าสบาย
ดูแลด้านจิตใจ พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหารเป็นเวลาที่จิตใจสบาย
สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายขณะที่รับประทานอาหารเท่าที่ท าได้
การใช้ยา แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร ในรายที่ไม่พบโรคทางร่างกายและต้องการให้รับประทานอาหารมากขึ้น ส่วนใหญ่จะใช้ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้าน Serotonin
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
5.2 พิจารณาและแนะน าเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น ไข่
นม อาหารเสริมส าเร็จรูป เพิ่มมื้ออาหาร เป็นต้น
5.3 ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย หรือท ากิจกรรมตามสภาพ
ร่างกายของผู้ป่วย ซึ่งจะท าให้ระบบทางเดินอาหารท างานได้ดีขึ้น
5.1 พยายามให้รับประทานอาหารทางปากมากที่สุด โดยอ านวยความสะดวก
และช่วยเหลือเกี่ยวกับการรับประทานตามความเหมาะสม เช่น ช่วยป้อน ตัก หรือแบ่งอาหาร เป็นต้น
5.4 การให้อาหารด้วยวิธีพิเศษ เช่น การให้อาหารทางสายที่ใส่ทางจมูกถึง
กระเพาะอาหาร การให้สารน้ าทางหลอดเลือดด า การให้สารอาหารทางหลอดเลือดด า เป็นต้น
Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง ได้แก่ อาการที่เกิด
ร่วมกับการอาเจียน ลักษณะของอาเจียน จ านวน เวลาที่อาเจียน สัญญาณชีพ นอกจากนี้ควรบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นร่วมกับการอาเจียนหรือสิ่งที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุของการอาเจียนเพื่อสื่อ
ความหมายให้เจ้าหน้าที่อื่นเกี่ยวข้องทราบ รายงานหัวหน้าทีมพยาบาลเพื่อรายงานแพทย์ทันที
การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
พยายามหาสาเหตุแล้วแก้ไขที่สาเหตุ
พยายามหลีกเลี่ยงและลดแหล่งของความเครียดต่าง ๆ ดูแลให้ผู้ป่วย
ผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ
ให้ผู้ป่วยสูดหายใจเข้าออกลึก ๆ ยาว ๆ ภายหลังอาเจียน และเมื่อรู้สึก
คลื่นไส้
หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวร่างกายหรือเปลี่ยนท่าเร็ว ๆ รวมทั้งหลีกเลี่ยง
การมองสิ่งที่เคลื่อนไหวเร็ว ๆ ไปมา ผู้ป่วยควรนอนพักท่าศีรษะสูง หลับตานิ่ง ๆ
พิจารณาให้ยาระงับอาเจียน (Antiemetic drug) ตามแผนการรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ ลดการรบกวนจากภายนอก
จัดสิ่งแวดล้อม ดูแลให้อากาศถ่ายเท วางของให้เป็นระเบียบ ทำให้
ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายและพักผ่อนได้
) น้ าและอาหาร ในระยะแรกให้งดอาหารและน้ า และเริ่มให้ทีละน้อย เมื่อ
อาการดีขึ้นจึงให้อาหารธรรมดา
ถ้าผู้ป่วยมีอาเจียนอย่างต่อเนื่องมักใส่สายเข้าทางจมูกลงสู่กระเพาะอาหารเป็นทางให้อาเจียนออกหรือเป็นทางใส่สารละลายเข้าไปล้างกระเพาะอาหารในกรณีกินยาพิษ.หรือสารพิษ บางครั้งอาจต่อกับเครื่องสุญญากาศให้มีการดูดออกด้วยแรงดันต่ า
การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียน เมื่อพบผู้ป่วยจะอาเจียน พยาบาลต้องรีบให้
การช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัยและสุขสบาย
จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน เตรียมกระดาษเช็ดปากหรือผ้าไว้ให้ผู้ป่วย
ส าหรับเช็ดปาก
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่อาเจียนออกได้สะดวก ช่วยลูบหลังลงเบา ๆ เพื่อ
ป้องกันการส าลักอาเจียนเข้าสู่หลอดลม
คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยก าลังอาเจียน พยาบาลควรเฝ้าดูด้วยความ
เห็นใจ สงบ ไม่ตื่นเต้น ไม่แสดงท่าทีรังเกียจ คอยให้ความช่วยเหลืออย่างกระตือรือร้น
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
งดอาหารที่ท าให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด เป็นต้น
แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
จัดให้นอนศีรษะสูง 45-60เพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
ค้นหาสาเหตุที่ท าให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหต
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนล าบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนล าบาก (Dysphagia) เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความล าบากในการกลืน อาจ
รู้สึกว่ากลืนแล้วติดอยู่ที่ใดที่หนึ่งหรือกลืนแล้วรู้สึกเจ็บทั้งสองอย่าง
ภาวะกลืนไม่ได้(Aphagia) จึงไม่สามารถกลืนได้ไม่ว่าจะเป็นอาหารแข็ง อาหาร
ธรรมดา อาหารอ่อน อาหารเหลว จนกระทั่งรุนแรงมากที่สุด คือ กลืนไม่ได้เลยแม้แต่น้ าหรือน้ าลาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนล าบากและกลืนไม่ได้
ระมัดระวังการสำลัก
ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะความสะอาดของปากและฟัน
ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา การตรวจรักษาโดยการส่องกล้องเข้าไป
ดูที่หลอดอาหาร (Esophagoscopy)
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ าและอาหารอย่างเพียงพอ
การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน ให้ก าลังใจ การสังเกตและการดูแลเอาใจใส่ที่ดี
สามารถบอกถึงสาเหตุและอาจแก้ไขอาการได้
สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนล าบากว่าเกิดขึ้น
ทันทีทันใดหรือค่อย ๆ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร (Feeding)
การป้อนอาหาร หมายถึง การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก โดย
ผู้ป่วยอาจไม่สะดวกในการใช้มือในการตักอาหาร หรือมีความอ่อนเพลียจากการเจ็บป่วย
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดอาหารพร้อมอาหาร
ช้อนหรือช้อนส้อม
แก้วน้ าพร้อมน้ าดื่ม และหลอดดูดน้ า
กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
ผ้ากันเปื้อน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตาม
ความต้องการของร่างกาย
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric
intubation)
วัตถุประสงค์
เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือล าไส้ (Decompression) เพื่อให้
แก๊ส สิ่งที่ค้างอยู่หรือน้ าคัดหลั่งระบายออก มักต้องต่อกับเครื่องดูดสุญญากาศ
เป็นทางให้อาหาร น้ า หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้หรือ
ได้รับไม่เพียงพอ
เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร (Compression) โดยใช้
สายที่มีลูกโป่งทางด้านนอกสามารถเป่าลมเข้าไปท าให้โป่งขึ้นบางส่วนของทางเดินอาหารเพื่อยับยั้งการมีเลือดออก ที่ใช้มากคือ เมื่อหลอดเลือดที่ส่วนล่างของหลอดอาหารโป่งพอง (Esophageal
varies) และแตกออก (Ruptured) จะใช้สาย Sengstraken-Blakemore tube ซึ่งเป็นหัตการของแพทย์
ล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage) ใช้มากในกรณีที่กินยาพิษ
ได้รับยาเกินขนาด (Over dose)
เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการการใส่สายยางให้อาหาร เพื่ออธิบายวัตถุประสงค์ของการใส่สายยางให้อาหารข้างต้นจะเรียงตามวัตถุประสงค์แต่ละข้อ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดสำหรับใส่เครื่องใช้
Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
สาย NG tube เบอร์ 14-18 fr
ถุงมือสะอาด 1 คู่
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe
Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo)
อุปกรณ์เครื่องใช้
ผ้ากันเปื้อน
Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
ในกรณีที่มียาหลังอาหารบดยาเป็นผงและละลายน้ าประมาณ 15-30 ซีซี
ถุงมือสะอาด 1 คู่
อาหารเหลวสำเร็จรูป หรืออาหารปั่น (Blenderized diet)
Stethoscope
แก้วน้ำ
กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
1) ถาดสำหรับใส่เครื่องใช้
สำลีชุบ 70% Alcohol 2 ก้อน
ชุดทำความสะอาดปาก ฟัน และจมูก
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
สำลีชุบ 70% Alcohol
น้ำยาบ้วนปาก
ไม้พันสำลีชุบเบนซิน (Benzene) และน้ำเกลือ (Normal saline)
ชามรูปไต
ถุงมือสะอาด
ผ้ากันเปื้อนหรือผ้าเช็ดตัว
ผ้าก๊อสสะอาด
วิธีปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้งและใส่ถุงมือ สวมmask
ปูผ้ากันเปื้อนหรือผ้าขนหนูและแกะพลาสเตอร์ที่ยึดสายจมูกออก
ตรวจคำสั่งการรักษา เพื่อยืนยันแผนการรักษา
หักพับสาย และดึงสายออก ขณะดึงสายให้ผู้ป่วยอ้าปากหายใจยาว ๆ ใช้ผ้า
ก๊อสจับสายที่ดึงออกมาด้วยมืออีกข้างหนึ่ง การดึงควรดึงอย่างนุ่มนวลแต่เร็วระวังสายยางสะบัด
ไขหัวเตียงสูงเพื่อจัดให้ผู้ป่วยอยู่ท่านั่ง
เช็ดรอยพลาสเตอร์ด้วยเบนซิน เช็ดตามด้วยน้ าเกลือและแอลกอฮอล์แล้วเช็ด
ให้แห้ง
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผล
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้เหมือนกับการให้อาหารทางสาย NG tube
วิธีปฏิบัติ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
ปลดผ้าก๊อซที่หุ้มปลายสายให้อาหารออกท าความสะอาดปลายสายด้วยสำลี
ชุบ 70% Alcohol
ใช้ Toomey syringe ต่อกับปลายสายดูด Gastric content เพื่อตรวจสอบความสามารถของกระเพาะอาหารในการบีบไล่อาหารไปยังล าไส้เล็ก กรณีของ Gastrostomy ส่วนกรณีของ Jejunostomy เพื่อตรวจสอบความสามารถในการดูดซึมของล าไส้เล็กส่วนนี้
หักพับสาย ถอด Syringe แล้วดึง Plunger ออก และต่อกระบอกสูบเข้ากับ
สายให้อาหาร
ล้างมือให้สะอาด ใส่ Mask
เปิดเสื้อผ้าบริเวณ Gastrostomy tube หรือ Jejunostomy tube ออก ปูผ้า
กันเปื้อนไว้ใต้ Tube
จัดให้อยู่ในท่านั่ง หรือนอนในท่าศีรษะสูง
แจ้งและอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจจุดประสงค์และวิธีทำ
วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
การล้างภายในกระเพาะอาหาร ใช้มากในกรณีที่รับประทานยาพิษ ได้รับยาเกินขนาด (Over dose) รวมถึงเป็นการล้างกระเพาะอาหารเพื่อห้ามเลือด ส าหรับการตรวจโดยการส่องกล้อง เพื่อวินิจฉัยภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจำนวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
ตรวจสอบการอุดตันของสาย
ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม ในกรณีที่ไม่สามารถนำ
เสมหะจากผู้ป่วยไปตรวจได้ ปัจจุบันไม่นิยมใช้เพราะใช้เครื่องดูดเสมหะได้
อุปกรณ์เครื่องใช้
สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหาร ใช้น้ าเกลือ (Isotonic saline)
ชามรูปไตหรืออ่างกลม
ชุดล้างกระเพาะอาหาร (ภาชนะส าหรับใส่สารละลายทั้งส าหรับเทสารละลาย
และที่ดูดออกจากผู้ป่วย และ Toomey syringe)
ผ้าเช็ดปาก หรือผ้าขนหนูผืนเล็ก หรือผ้ากันเปื้อน
สายยางสำหรับใส่ในกระเพาะอาหาร
Ky jelly
ถุงมือสะอาด 1 คู่และ Mask