Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity(ภาวะอ้วน)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
4)หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
5)รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจำกัดอาหารมื้อเย็น
3)จ ากัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
6)หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
2)จ ากัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
7)เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
1)ค านวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
8)ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
Emaciation(ภาวะผอมแห้ง)
Anorexianervosaภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร
BulimiaNervosaเป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทานโดยจะรับประทานวันละหลายๆ ครั้ง ครั้งละมากๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะAnorexianervosaและBulimianervosa
3)ดูแลด้านจิตใจ พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหารเป็นเวลาที่จิตใจสบาย สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายขณะที่รับประทานอาหารเท่าที่ท าได้
4)การใช้ยา
2) ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
5.2 พิจารณาและแนะนำเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
5.3 ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย
5.1 พยายามให้รับประทานอาหารทางปากมากที่สุด
5.4 การให้อาหารด้วยวิธีพิเศษ
1)หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อยๆ เช่น โรคปากและฟัน คออักเสบ โรคมะเร็ง
Nausea and vomiting(อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
2) สังเกตสิ่งต่างๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
3) การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
1)การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียนเมื่อพบผู้ป่วยจะอาเจียน พยาบาลต้องรีบให้การช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัยและสุขสบาย
4)การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
5)ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
6) เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้ า
Abdominal distention(ภาวะท้องอืด)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
2) งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
3) แสดงความเข้าใจและเห็นใจและยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
1) จัดให้นอนศีรษะสูง 45ํ ํ-60 ํเพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
4) ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
Dysphagia and aphagia(ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนล าบากและกลืนไม่ได้
4)ระมัดระวังการสำลัก
5)ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะความสะอาดของปากและฟัน
3)ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
6)การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา
2) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
7)การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน ให้กำลังใจ การสังเกตและการดูแลเอาใจใส่ที่ดี สามารถบอกถึงสาเหตุและอาจแก้ไขอาการได้
1) สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนล าบากว่าเกิดขึ้นทันทีทันใดหรือค่อยๆ มากขึ้น
การล้างภายในกระเพาะอาหาร(Gastric lavage)
วิธีปฏิบัติ
3) ล้างมือก่อนจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้
4) เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้พร้อม
2)ประเมินสภาพผู้ป่วย
5) ปูผ้าคลุมบนเตียงและตัวผู้ป่วยตรงที่จะปลดสาย
6) ใช้Toomey syringe ดูดสารละลาย 50 ซีซี
7) หักพับสายไว้ก่อนปลดรอยต่อ
8) ดูดน้ำออกเบาๆ หรือปล่อยให้สารละลายไหลออกเอง
9) ใส่สารละลายเข้าไปแล้วปล่อยหรือดูดน้ำออกเรื่อยๆ
10)ล้างกระเพาะอาหาร
11) เมื่อสิ้นสุดการล้างกระเพาะอาหารแล้ว ให้ทำความสะอาดช่องปากและจัดท่าผู้ป่วยในท่าที่สุขสบาย
1)ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
12) เก็บเครื่องใช้ทำความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
13) ลงบันทึกทางการพยาบาล
วัตถุประสงค์
4) ผ้าเช็ดปากหรือผ้าขนหนูผืนเล็กหรือผ้ากันเปื้อน
5) สายยางสำหรับใส่ในกระเพาะอาหาร
3) ชามรูปไตหรืออ่างกลม
6) Key jelly
2) สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหารใช้น้ าเกลือ (Isotonic saline)
7) ถุงมือสะอาด 1 คู่และ Mask
1) ชุดล้างกระเพาะอาหาร
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
2)เพศพบว่าเพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
3)การใช้ยาพบว่า ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร
1)อายุพบว่าในวัยเด็กมีความต้องการสารอาหารมากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ
4)ภาวะสุขภาพพบว่า การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
5)ความชอบส่วนบุคคล
6)ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
7) วิถีชีวิต
8) เศรษฐานะ
9) วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
10)ปัจจัยด้านจิตใจ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ(Nutrition)
โภชนาการ หมายถึง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่ในอาหารหรือสารอาหาร ตลอดจนปฏิกิริยาระหว่างกันของสารอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตย่อย ดูดซึม ขนส่ง นำสารอาหารไปใช้และสะสมในร่างกาย
ภาวะโภชนาการ(Nutritional Status)
ภาวะโภชนาการ หมายถึง สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจ าเป็นต้องได้รับสารอาหาร เพื่อนำมาใช้ในด้านสรีระอย่างเพียงพอ
ลักษณะโภชนาการ
1) ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
2)ภาวะโภชนาการไม่ดี (Badnutritionalstatus)ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
(1)ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (Malnutrition)หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ
(2) ภาวะโภชนาการเกิน(Over nutrition)หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement:A)
ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment:B)
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment:C)
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment:D)
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร(Feeding)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ถาดอาหารพร้อมอาหาร
2)ช้อนหรือช้อนส้อม
3)แก้วน้ าพร้อมน้ำดื่ม และหลอดดูดน้ำ
4)กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
5)ผ้ากันเปื้อน
วิธีปฏิบัติ
การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
(2)จัดให้อยู่ในท่านั่ง กรณีที่นั่งไม่ได้จัดให้นอนตะแคงขวาเล็กน้อย
(3)ปูผ้ากันเปื้อนตั้งแต่ใต้คางลงไป หากผู้ป่วยที่อยู่ในท่านอนตะแคง ควรปูบนที่ไหล่และหมอนด้วย
(1)ก่อนเวลาอาหาร แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายบ้าง
(4)วางถาดอาหารในตำแหน่งที่ผู้ป่วยสามารถมองเห็น
(5)วางเครื่องใช้อื่นๆ ในตำแหน่งที่สามารถหยิบได้สะดวก
(6)ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง
การป้อนอาหาร
(2) จังหวะในการป้อนต้องสัมพันธ์กับความสามารถในการรับประทานอาหาร เคี้ยวและกลืนของผู้ป่วย
(3)ไม่ควรจ้องหน้าผู้ป่ว
(1) ขณะป้อนอาหารตักอาหารให้มีปริมาณที่เหมาะสม
(4) หลังป้อนอาหารให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ บ้วนปากหรือแปรงฟันและเช็ดปากให้สะอาด
(5) เก็บถาดอาหาร
(6) ลงบันทึกทางการพยาบาล
สำหรับผู้ป่วยพิกา
(1)ถ้าผู้ป่วยจับช้อนไม่ถนัดควรสาธิตการใช้ช้อนและส้อมในการตักอาหารใส่ปากหรือดัดแปลงที่จับของให้จับได้สะดวก
(2)ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย ควรรับประทานอาหารเหลวที่สอดคล้องกับการแผนรักษาของแพทย์
สำหรับผู้ป่วยกลืนล าบาก
(1) จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือศีรษะสูงในลักษณะก้มเล็กน้อย
(2) สอบถามผู้ป่วยถึงความรู้สึกเกี่ยวกับอาหารในปาก
(3)สอนวิธีการใช้ลิ้นและการกลืน เพื่อช่วยให้การกลืนได้ดีขึ้น
(4)ควรเริ่มจากอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลวก่อน
(5) ให้อาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
(6)ในขณะรับประทานอาหารควรหยุดพักเป็นระยะๆจะช่วยให้ได้รับประทานอาหารได้มากขึ้น
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร(Nasogastric intubation)
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร(Nasogastric intubation)
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การป้อนอาหาร(Feeding)
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
สูตร BEE เพศชาย
BEE = 66.47+ (13.75 x น้ าหนัก(Kg )) + (5.00 x ความสูง (Cm )) –(6.75 x อายุ (ปี))
สูตร BEE เพศหญิง
BEE = 655.09 + (9.56 x น้ าหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง(Cm )) –(4.68 x อายุ(ปี))
TEE = BEE x Activity factor x Stress factor
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
3.การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
5.การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)