Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ, 118076030_609692523303951_990731605699434809_n -…
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ
เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะของการกิน
ปรุงแต่งอาหารให้รสชาติดี มีสีสัน สวยงาม
มุ่งเน้นคุณภาพอาหาร
ปริมาของสารอาหารที่ร่างการจะนำมาใช้ประโยชน์
ภาวะโภชนาการ
ภาวะโภชนาการดี
ร่างกายได้รับสารอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
ปริมาณสารอาหารเพียงพอกับความ
ภาวะโภชนาการไม่ดี
ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
ร่างกายรับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ขาดสารอาหารเพียง 1 ชนิด หรือมากกว่า
อาจขาดพลังงาน
ภาวะโภชนาการเกิน
ร่างกายได้รับอาหารมากเกินความต้องการ
อาจทำให้เกิดโรคอ้วน
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
การใช้ยา ยาบางชนิดมีผลข้างเคียงทำให้เกิดอาการเบื่ออาหาร
ภาวะสุขภาพ พบว่าการการเจ็บปวดเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
เพศ พบว่าเพศชายต้องการพลังงานมากกว่าหญิง
ความชอบส่วนบุคคลทำให้เลือกรับประทานอาหารอาจทำได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
อายุ เด็กต้องการสารอาหารโปรตีนไปสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
การดื่มแอลกอฮอล์ทำให้ม่ความอยากอาหารลดลง
วิถีชีวิต บางคนเลือกทานเจตลอดชีวิต ทำให้ขาดโปรตีนจึงต้องหาโปรตีนทดแทนจากแหล่งอื่น
เศรษฐกิจ หากเศรษฐกิจดีสามารถเลือกรับประทานอาหารได้
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา เช่น เชื่อว่าการทานอาหารดิบๆ สุกๆ เชื่อว่าจะทำให้ร่างกายแข็งร่าง
ความเครียดแบะความกลัวทำให้ความอยากอาหารลดลง
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วย
ภาวะเจ็บป่วยต้องการพลังงานมากกว่าในภาวะปกติ
ต้องการพลังงานเพื่อช่วยฟื้นฟู และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ผลกระทบต่อผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอ
ความแข็งแรงของโครงสร้างของผิวหนังผิดปกติ
นอนโรงพยาบาลนานขึ้น
การหายของแผลช้า
เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ภูมิคุ้มโรคลดลง
ความต้องการพลังงานในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน (BEE) พลังงานที่ต้องการขณะพัก พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดกระบวนการเมทาบอลิซึมของร่างกาย
ความต้องการพลังงานทั้งหมด (TEE) พลังงานที่ใช้ในแต่ละวัน
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้ (EE) เป็นพลังงานที่เพียงพอของร่างกายในการสร้าง ATP
สูตรคำนวณ
เพศชาย BEE = 66.4 + ( 13.75 × น้ำหนัก (Kg) ) + ( 5.00 × ความสูง (cm) ) - ( 6.75 × อายุ (ปี))
เพศหญิง BEE = 65.9 + ( 9.56 × น้ำหนัก (Kg) ) + ( 1.85 × ความสูง (cm)) - (4.68×อายุ(ปี))
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
ดัชนีมวลของร่างกาย
เป็นการประเมินมวลของร่างกายทั้งหมด
หน่อยเป็นกิโลกรัมต่อตารางเมตร
Body Mass Index (BMI) มีสูตรการคำนวณ = น้ำหนักตัว[Kg] / (ส่วนสูง[m] ยกกำลังสอง)
การประเมินทางชีวเคมี
เจาะเลือด เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
การตรวจร่างกายทางคลินิก
ตรวจร่างกายเบื้องต้น ได้แก่ ผิวหนัง ผม ฟัน เหงือก ริมฝีปาก ลิ้น และเปลือกตา
เป็นวิธีการตรวจร่างกายเช่นเดียวกับการประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินจากประวัติการทานอาหาร
ชนิดของอาหารที่บริโภค
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
ประวัติการรัปประทานอาหาร
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
ภาวะอ้วน
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
จำหัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาที่แป้งและไขมันสูง
จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจำกัดอาหารมื้อเย็น
คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมัน
เพศหญิง รอบเอวมากกว่า 35 นิ้ว รอบเอวต่อรอบสะโพก ≥ 0.85
เพศชาย รอบเอวมากกว่า 40 นิ้ว รอบเอวต่อรอบสะโพก ≥ 09
ภาวะผอมแห้ง
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารทำให้รับประทานอาหารได้น้อยหรือไม่ยอมทาน
ทำให้อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ขาดอาหาร
อาจเป็นโรคจากการขาดสารอาการและพลังงาน หรือโรคแผลในกระเพราะอาหารได้
Bulimia Nervosa
ล้วงคอหรือทานยาระบาย เพื่อเอาอาหารที่ทานออกมา
หารพยาบาลผู้ป่วย
หาสาตุ
ส่งเสริมความอยากอาหาร
ดูแลด้านจิตใจ สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายขณะที่รับประทานอาหาร
การใช้ยา เพื่อกระตุ้นให้อยากอาหาร
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อความต่อการของร่างกาย
Nausea and vomiting
อาการคลื่นไส้อาเจียน ทำให้ร่งกายขาดสารอาหารได้
อาการอาเจียน เป็นผลจากการบีบตัวของลำไส้เล็กส่วนตัว หรือกระเพราะอาหารส่วนล่างอย่างแรง
การพยาบาลผู้ป่วย
พยาบาลต้องรีบช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัยและสุขสบาย
บันทึกอาการและรายงานอย่างถูกต้อง
ให้การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
ให้การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
Abdominal distention
การพยาบาลผู้ป่วย
งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
แสดงความเข้าใจ ยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
หาสาเหตุ
จัดให้นอนศีรษะสูง เพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายผมสะดวก
ผู้ป่วยมักมีอาการไม่อยากอาหารหรือน้ำ ถ้าติดต่อกันนานจะทำให้เกิดการขาดอาหารหรือน้ำตามมา
Dysphagia and aphagia
ภาวะกลืนลำบาก รู้สึกเหมือนมีอะไรติดที่คอ
ภาวะกลืนไม่ได้ ไม่สามารถกลืนได้ทั้งอาหารแข็งหรืออาหารอ่อน
การพยาบาลผู้ป่วย
สังเกตและประเมินอาการ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลการรับยาตามแผนการรักษา
ระมัดระวังการสำลัก
ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในการเข้ารับการตรวจรักษาและหลังการรักษา
ดูแลด้านจิตใจ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร
ช่วยให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ เพื่อให้สิ่งที่ค้างหลั่งระบายออก มักต่อกับเครื่องดูดสุญญากาศ
ล้างภายในกระเพาะอาหาร ใช้มากในกรณีที่กินยาพิษ หือได้รับยาเกินขนาด
เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เป็นทางให้อาหาร น้ำ ยา ในกรณีผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้หรือไม่เพียงพอ
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพราะอาหาร
การให้อาหารผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก
ให้อาหารผ่านทางสายให้อาหารซึ่งสอดทางจมูกเข้าสู่กระเพราะอาหาร
การทำงานของระบบทางเดินอาาหรยังอยู่ในภาวะปกติ
การถอดสายยางให้อาหารอาหารจากจมูกถึงกระเพราะ
เป็นบทบาทกึ่งอิสระของพยาบาล
ถอดเมื่อผู้ป่วยเริ่มรู้สึกตัวดี สามารถรับประทานอาหารได้
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
เพื่อให้ผูป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
การล้างภายในกระเพราะอาหาร
ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจำนวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
ตรวจสอบการอุดตันของสาย
ล้างกระเพราะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะสุขภาพ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
วางแผนการพยาบาล
ประเมินผลการพยาบาล