Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่ ในอาหารหรือสารอาหาร ตลอดจนปฏิกิริยาระหว่างกันของสารอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่ สิ่งมีชีวิตย่อย ดูดซึม ขนส่ง นำสารอาหารไปใช้และสะสมในร่างกาย รวมทั้งการกำจัดสารที่เหลือใช้ ของร่างกาย
ภาวะโภชนาการ
1) ภาวะโภชนาการดี
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารที่
ถูกหลักโภชนาการ
2) ภาวะโภชนาการไม่ดี
(1) ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
(2) ภาวะโภชนาการเกิน
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
5) ความชอบส่วนบุคคล
6) ผลจากการดื่มแอลกอฮอล
4) ภาวะสุขภาพ
7) วิถีชีวิต
3) การใช้ยา
8) เศรษฐานะ
2) เพศ
9) วัฒนธรรม
1) อายุ
10) ปัจจัยด้านจิตใจ
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ผู้ป่วยได้รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอ ย่อม
ส่งผลกระทบ
6) อัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น
1) เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
5) วันนอนโรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น
2) ภูมิคุ้มกันโรคลดลง
4)ความแข็งแรงและโครงสร้างของผิวหนังผิดปกติ
3) การหายของแผลช้า
ภาวะเจ็บป่วยความต้องการพลังงานต้องมากกว่าในภาวะปกติ เพราะต้องช่วย ในการสร้างฟื้นฟู และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอทำให้ร่างกายหายเป็นปกติ มีสุขภาวะสมบูรณ์ และมี คุณภาพชีวิตดีตรงกันข้ามหากในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
สูตร BEE เพศชาย
BEE = 66.47+ (13.75 x น้ำหนัก (Kg )) + (5. 00 x ความสูง (Cm )) – (6.75 x อายุ (ปี))
สูตร BEE เพศหญิง
BEE = 655.09 + (9.56 x น้ำหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง (Cm )) –(4.68 x อายุ (ปี))
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
2 การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
3 การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
1 ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
4 การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment: D)
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
1 Obesity (ภาวะอ้วน)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
5) รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจ ากัดอาหารมื้อเย็น
6) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
4) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
7) เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
3) จำกัดการใช้น้ ามัน ไขมัน น้ำตาล
8) ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
2) จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
1) คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
2 Bulimia Nervosa เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน
3 การพยาบาลผู้ป่วย
3) ดูแลด้านจิตใจ
4) การใช้ยา แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร
2) ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอ
1 พยายามให้รับประทานอาหารทางปากมากที่สุด
2 พิจารณาและแนะนำเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
3 ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย
4 การให้อาหารด้วยวิธีพิเศษ
1) หาสาเหต
1 Anorexia nervosa ภาวะเบื่ออาหาร
3 Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
1) การพยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียน
(2) จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่อาเจียนออกได้สะดวก
(3) คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยกำลังอาเจียน
(1) จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน
2) สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
3) การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
(2) จัดสิ่งแวดล้อม
(3) ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ
(1) ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
(4) น้ำและอาหาร ในระยะแรกให้งดอาหารและน้ำ
4) การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
5) ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
6) เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้ า
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
1) จัดให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศาเพื่อช่วยลดอาการแน่นท้อง และผายลมสะดวก
2) งดอาหารที่ท าให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด เป็นต้น
3) แสดงความเข้าใจและเห็นใจ และยินดีให้การช่วยเหลืออย่างจริงใจ
4) ค้นหาสาเหตุที่ท าให้เกิดภาวะท้องอืดและช่วยเหลือตามสาเหตุ
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
1) สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนลำบากว่าเกิดขึ้นทันทีทันใดหรือค่อย ๆ มากขึ้น
2) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ าและอาหารอย่างเพียงพอ
3) ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
4) ระมัดระวังการสำลัก
5) ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะความสะอาดของปากและฟัน
6) การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา
7) การดูแลด้านจิตใจ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
1 การป้อนอาหาร (Feeding)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตาม
ความต้องการของร่างกาย
2 การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastricintubation)
วัตถุประสงค์
3) เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
4) ล้างภายในกระเพาะอาหาร
2) เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้
5) เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) เป็นทางให้อาหาร น้ำ หรือยา
3 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
1) Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe เหมาะสำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
2) Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo)
4 การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
5 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
วัตถุประสงค์
2) ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจ านวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
3) ตรวจสอบการอุดตันของสาย
1) ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
4) ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ
เกณฑ์การประเมิน
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment