Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจำเป็นต้องได้รับสารอาหาร เพื่อนำมาใช้ในด้านสรีระอย่างเพียงพอ
ภาวะโภชนาการดี
มีสารอาหารครบถ้วน ในปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ร่างกายใช้สารอาหารเหล่านั้นในการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มที่
ภาวะโภชนาการไม่ดี
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
การได้รับสารอาหารบางชนิดมากเกิน ความต้องการของร่างกาย
จึงทาให้เกิดภาวะผิดปกติขึ้น
ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
ภาวะที่ร่างกายได้รับ สารอาหาร
ไม่เพียงพอกับความต้องการ
โดยอาจขาดสารอาหารเพียง 1 ชนิด
โรคขาดโปรตีน
โรคขาดพลังงาน
ภาวะโภชนาการเกิน
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหาร
มากเกินความต้องการของร่างกาย
และเก็บสะสมไว้จนเกิดอาการ
โรคอ้วน
ขับถ่ายยาก
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
อายุ
วัยเด็กมีความต้องการสารอาหาร
มากกว่าในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ
เพศ
เพศชายต้องการพลังงานในหนึ่งวันมากกว่าเพศหญิง
การใช้ยา
ยาที่มีผลข้างเคียงให้เกิดอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ยา รักษาวัณโรค-พีเอเอส
ยาลดความอ้วน
ยารักษาโรคเบาหวานบางชนิด
ภาวะสุขภาพ
การเจ็บป่วยเรื้อรังมีผลต่อภาวะโภชนาการ
ความชอบส่วนบุคคล
“เป็นคนกินยาก” หรือมีนิสัย ไม่ชอบรับประทานเพราะกลัวอ้วน
มีภาวะโภชนาการต่ำ
ชอบรับประทานอาหารหวานจัด อาหารไขมันสูง
เกิดภาวะโภชนาการเกิน
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
ทาให้ความรู้สึกอยากอาหารลดลง
การบริโภคอาหารเปลี่ยนไป
วิถีชีวิต
ผู้ที่เลือกรับประธานอาหารเจ เป็นเวลานาน ๆ
หรือเลือกรับประทานตลอด ชีวิต
พบว่ามักขาดสารอาหารโปรตีนจ
เศรษฐานะ
ภาวะเศรษฐกิจดีทาให้ผู้คนเลือกรับประทานอาหารได้ตามความ ต้องการ
ภาวะเศรษฐกิจไม่ดีการเลือกรับประทานอาหารที่ประโยชน์อาจลดปริมาณ
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
บริบทของวัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
ยังดำเนินชีวิตอยู่ในกระบวนทัศน์เดิม มีผลต่อภาวะโภชนาการ
ปัจจัยด้านจิตใจ
ความเครียด และความกลัว
ทำให้ความอยากอาหารลดลง
รู้สึกเบื่ออาหาร กลืนอาหารไม่ลงคอ
ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วย
และความต้องการพลังงานของร่างกาย
ในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ขึ้นอยู่กับ เพศ อายุ ส่วนสูง น้ำหนัก
และความรุนแรงของโรค
ความต้องการพลังงานหรือพลังงานที่ต้องการใช้
เป็น พลังงานที่เพียงพอหรือเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในการสร้าง Adenosine triphosphate: ATP
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน
พลังงานที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดกระบวนการเมทาบอลิสซึม
ของร่างกายก่อนที่จะมีการทำงานของอวัยวะ
ความต้องการพลังงานทั้งหมด
ผลรวม ของพลังงานทั้งหมดใน 1 วันรวมถึง BEE พลังงานที่ใช้ในการย่อย และดูดซึมสารอาหาร
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
ดัชนีมวลของร่างกาย
ประเมินมวลของร่างกายทั้งหมด
โดยวัดส่วนสูงและน้ำหนัก
การประเมินทางชีวเคมี
เจาะเลือด เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
ประเมินภาวะโลหิตจาง
การตรวจร่างกายทางคลินิก
ตรวจร่างกาย เช่นเดียวกับ การประเมินภาวะสุขภาพ
ผิวหนัง
ฟัน
ผม
เหงือก
ริมฝีปาก
ลิ้น
เปลือกตา
การประเมินภาวะซีด
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร
ประวัติการรับประทานอาหาร
ชนิดของอาหารที่บริโภค
พฤติกรรมการรับประทาน อาหาร
จะช่วยให้พยาบาลสามารถประเมินปัญหา
ของผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม
การพยาบาลได้ตรงจุดอย่างมีประสิทธิภาพ
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity (ภาวะอ้วน)
ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป
มีค่าดัชนีมวล กาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
รอบเอวในผู้ชายรอบเอว มากกว่า 40 นิ้ว (102 เซนติเมตร) ผู้หญิง 35 นิ้ว (88 เซนติเมตร)
อัตราส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพก
เพศชาย ≥ 0.9 เพศหญิง ≥ 0.85
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่า
หรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อ ตารางเมตร
น้ำหนักลดลงตลอดเวลา ร่วมกับขาดสารอาหาร
มีการควบคุมอาหารหรืออดอาหาร ออกกำลังกายมากเกินไป
ผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของระบบ ทางเดินอาหาร
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร
Bulimia Nervosa
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน
โดยจะ รับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ
หลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจ
และ รู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไปมาก
Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
อาการคลื่นไส้ เป็นความรู้สึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก มักเป็น อาการนาก่อนอาเจียน
อาการอาเจียน คือ การที่มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร หรือ ลาไส้เล็กส่วนต้นออกมาทางปาก
เป็นผลจากมีการบีบตัวของลาไส้เล็กส่วนต้น
หรือกระเพาะอาหาร ส่วนล่าง
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
ภาวะท้องอืด เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด
ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม
ทำให้เกิดอาการที่ตามมา
ปวดท้อง
คลื่นไส้
อาเจียน
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลาบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนลาบาก (Dysphagia)
เป็นความรู้สึกที่ผู้ป่วยเกิดความลำบากในการกลืน
ภาวะกลืนไม่ได้ (Aphagia) จึงไม่สามารถกลืนได้
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร (Feeding)
ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก
โดยผู้ป่วยอาจไม่สะดวกในการใช้มือในการตักอาหาร
หรือมีความอ่อนเพลียจากการเจ็บป่วย
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
ได้รับอาหารตาม ความต้องการของร่างกาย
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูก
ถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric intubation)
การใส่สายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การใส่ NG tube
วัตถุประสงค์
เป็นทางให้อาหาร น้า หรือยา
ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้
ลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้
เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
ล้างภายในกระเพาะอาหาร
เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การให้อาหารทางสายยางให้อาหาร
จากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
Bolus dose
เป็นการให้อาหารทางสาย NG โดยใช้ Toomey syringe
เหมาะสำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
ผู้ป่วยอัมพาต
ผู้ป่วยน้ำหนักตัวน้อย
Drip feeding
เป็นการให้อาหารทางสาย NG
โดยใช้ชุดให้อาหาร (Kangaroo)
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การถอดสายให้อาหารออกนั้นเป็นบทบาทกึ่งอิสระ
ของพยาบาล เมื่อแผนการรักษาเปลี่ยนไป
ให้เริ่มรับประทานอาหารหลังจากแผนการรักษา
ให้งดอาหารและน้ำ ทางปาก
ผู้ป่วยรูสึกตัวดีสามารรับประทานอาหารเองได้
การให้อาหารทางสายยางให้อาหาร
ที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
ล้างภายในกระเพาะอาหาร ใช้มาก
ในกรณีที่รับประทานยาพิษ ได้รับยาเกิน ขนาด
รวมถึงเป็นการล้างกระเพาะอาหารเพื่อห้ามเลือด
วัตถุประสงค์
ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจำนวนน้อย
ในทางเดินอาหารส่วนบน
ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
ในกรณีที่ไม่สามารถนำเสมหะจากผู้ป่วยไปตรวจได้
ตรวจสอบการอุดตันของสาย