Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
1 ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ(Nutrition)
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่ในอาหารหรือสารอาหาร
ทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของอาหาร
ภาวะโภชนาการ(Nutritional Status)
1) ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)
มีสารอาหารครบถ้วน
2)ภาวะโภชนาการไม่ดี (Badnutritionalstatus)
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (Malnutrition)
ภาวะโภชนาการเกิน(Over nutrition)
2ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
4)ภาวะสุขภาพ
5)ความชอบส่วนบุคคล
2)เพศ
6)ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
1)อายุ
7) วิถีชีวิต
8) เศรษฐานะ
9) วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
10)ปัจจัยด้านจิตใจ
3ความสำคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
อาหารหมายถึง สิ่งใด ๆซึ่งรับประทานเข้าไปแล้ว เพื่อเสริมสร้างความเจริญเติบโต
อาหาร (Food) และสารอาหาร (Nutrient) มีความสำคัญต่อภาวะการเจ็บป่วย และด้วยศาสตร์การดูแลสุขภาพ
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
Energy Expenditure:EE
Basal energyexpenditure:BEE
Total EnergyExpenditure:TEE
4การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
1) ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
2 การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment:B)
3 การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment:C)
4การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment:D)
5 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
1 Obesity(ภาวะอ้วน)
ร่างกายมีการสะสมของมวลไขมันในร่างกายมากเกินไป
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
3)จำกัดการใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
4)หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
5)รับประทานอาหารครั้งละน้อย
7)เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
6)หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
8)ส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
2)จำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหาร
1)คำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
2 Emaciation(ภาวะผอมแห้ง)
ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI
ผู้ป่วยที่มีปัญหาความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหาร
BulimiaNervosa
รับประทานวันละหลายๆ ครั้ง ครั้งละมากๆ
หลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจและรู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไป
การพยาบาลผู้ป่วย
1)หาสาเหตุ
2) ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร
3)ดูแลด้านจิตใจ
4)การใช้ยา
5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอ
3 Nausea and vomiting(อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
การพยาบาล
1.พยาบาลต้องรีบให้การช่วยเหลือโดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยปลอดภัยและสุขสบาย
2) สังเกตสิ่งต่างๆ เพื่อบันทึกและรายงาน
3) การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
จัดสิ่งแวดล้อม
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในบรรยากาศที่สง
ระยะแรกให้งดอาหารและน้ำ และเริ่มให้ทีละน้อย
4)การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
พยายามหาสาเหตุแล้วแก้ไข
หลีกเลี่ยงและลดแหล่งของความเครียด
สูดหายใจเข้าออกลึกๆ ยาวๆ ภายหลังอาเจียน
หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวร่างกาย
พิจารณาให้ยาระงับอาเจียน
5)ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
6) เตรียมพร้อมถ้ามีการอาเจียนซ้ำ
4 Abdominal distention(ภาวะท้องอืด)
การพยาบาล
1) จัดให้นอนศีรษะสูง 45-60องศา
3) แสดงความเข้าใจและเห็นใจ
2) งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
4) ค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะท้องอืด
5 Dysphagia and aphagia(ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
การพยาบาล
1) สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืน
2) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
3)ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
4)ระมัดระวังการสำลัก
5)ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย
6)การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจหรือรักษา
7)การดูแลด้านจิตใจ ปลอบโยน ให้กำลังใจ
6การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
1 การป้อนอาหาร(Feeding)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
วิธีปฏิบัติ
4)สำหรับผู้ป่วยกลืนลำบาก
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือศีรษะสูง
สอนวิธีการใช้ลิ้นและการกลืน
ควรเริ่มจากอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลวก่อน
ให้อาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ขณะรับประทานอาหารควรหยุดพักเป็นระยะๆ
3)สำหรับผู้ป่วยพิการ
ควรสาธิตการใช้ช้อนและส้อม
ควรรับประทานอาหารเหลวที่สอดคล้องกับการแผนรักษาของแพทย์
2) การป้อนอาหาร
ไม่ควรจ้องหน้าผู้ป่วย
หลังป้อนอาหารให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ
จังหวะในการป้อนต้องสัมพันธ์กับความสามารถในการรับประทาน
เก็บถาดอาหาร
ตักอาหารให้มีปริมาณที่เหมาะสม
ลงบันทึกทางการพยาบาล
1) การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
2 การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร(Nasogastric intubation)
วัตถุประสงค์
2) เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้
3) เป็นการเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
1)เป็นทางให้อาหาร น้ำ หรือยา
4) ล้างภายในกระเพาะอาหาร
5) เก็บสิ่งตกค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
มี 2 วิธี ได้แก่
1)Bolus dose
ผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้เอง
เช่น ผู้ป่วยอัมพาต หรือผู้ป่วยที่มีปัญหาน้ำหนักตัวน้อย เป็นต้น
2)Drip feeding
คล้ายกับชุดให้สารน้ำสามารถปรับจำนวนหยดของอาหาร
ควบคุมเวลาการให้อาหารได้ตามความต้องการ
เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
4 การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
เป็นการถอดสายยางที่เคยใส่ไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง
แต่การถอดสายให้อาหารออกนั้นเป็นบทบาทกึ่งอิสระของพยาบาล
5 การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามความต้องการของร่างกาย
การให้อาหารวิธีนี้เป็นหัตถการโดยแพทย์
7 การล้างภายในกระเพาะอาหาร(Gastric lavage)
วัตถุประสงค์
1) ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
2) ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจำนวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
3) ตรวจสอบการอุดตันของสาย
4) ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม
8กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ตัวอย่างผู้ป่วยรายหนึ่งได้รับการวินิจฉัยโรคเป็นมะเร็งหลอดอาหาร ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ น้ าหนักลดลง 10 กิโลกรัมภายใน 2 สัปดาห์ สีหน้าท่าทางอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ผิวหนังแห้ง เห็นกระดูกชัดเจน ญาติผู้ป่วยบอกไม่สามารถกลืนอะไรได้เลย จิบน้ าแค่เล็กน้อยก็ไหลออกทางปาก แพทย์มีแผนการรักษาให้ Retain NG tube for Feeding BD 250 ml x 5 Feedจงประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการให้อาหารทางสายยางส าหรับผู้ป่วยรายนี้
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
S:ญาติผู้ป่วยบอกไม่สามารถกลืนอะไรได้เลย จิบน้ำแค่เล็กน้อยก็ไหลออกทางปาก
O:จากการสังเกต ผู้ป่วยมีสีหน้าท่าทางอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ผิวหนังแห้ง ผอมจนเห็นกระดูกชัดเจน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารได้เอง
3.การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์เพื่อไม่ให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ
เกณฑ์การประเมิน
1) ผู้ป่วยได้รับสารอาหารตรงตามแผนการรักษาของแพทย์
2) ผู้ป่วยมีค่าดัชนีมวลกาย อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
5.การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยสังเกตสีหน้าท่าทางของผู้ป่วย
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของแนวปฏิบัติ
ประเมินผลภายหลังผู้ป่วยได้รับอาหารทางสายยางทางจมูกถึงกระเพาะอาหารไม่มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น