Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ, image, image, image, image, image - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ของการดารงชีวิตของมนุษย์ การรับประทานอาหารให้ครบทั้ง
5 หมู่
ความหมายของโภชนาการ (Nutrition)
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของอาหารทั้ง
ทางด้านอินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ของอาหาร
ภาวะโภชนาการ (Nutritional Status)
ภาวะโภชนาการดี (Good nutritional status)
ภาวะโภชนาการไม่ดี (Bad nutritional status)
ภาวะโภชนาการต่ากว่าเกณฑ์ (Malnutrition)
ภาวะโภชนาการเกิน (Over nutrition)
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
อายุ
เพศ
การใช้ยา
ภาวะสุขภาพ
ความชอบส่วนบุคคล
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
วิถีชีวิต
เศรษฐานะ
วัฒนธรรม
ปัจจัยด้านจิตใจ
ความสาคัญของอาหารต่อภาวะเจ็บป่วยและความต้องการพลังงานของร่างกายใน
ภาวะเจ็บป่วย
อาหารจึงมีความสาคัญและมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งในภาวะปกติ และภาวะเจ็บป่วยภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน
ผู้ป่วยได้รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอ
ส่งผลกระทบ
1) เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ 2) ภูมิคุ้มกันโรคลดลง 3) การหายของแผลช้า
4)ความแข็งแรงและโครงสร้างของผิวหนังผิดปกติ 5) วันนอนโรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น
6) อัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
สูตร BEE เพศชาย
BEE = 66.47+ (13.75 x น้าหนัก (Kg )) + (5. 00 x ความสูง (Cm )) – (6.75 x อายุ (ปี))
สูตร BEE เพศหญิง
BEE = 655.09 + (9.56 x น้าหนัก (Kg)) +(1.85 x ความสูง (Cm )) –(4.68 x อายุ (ปี))
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement: A)
ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment: D)
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity (ภาวะอ้วน)
ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ทั้งเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
1) คานวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
2) จากัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
3) จากัดการใช้น้ามัน ไขมัน น้าตาล
4) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
5) รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจากัดอาหารมื้อเย็น
6) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
7) เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
8) ส่งเสริมให้ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร
Bulimia Nervosa
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะรับประทานวันล่ะหลาย ๆ ครั้ง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อย ๆ เช่น โรคปากและฟัน
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุด
ดูแลด้านจิตใจ
การใช้ยา
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
เมื่อพบผู้ป่วยจะอาเจียน พยาบาลต้องรีบให้
การช่วยเหลือ
สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
การพยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
ดูแลความสะอาดของร่างกายและเครื่องใช้
การป้องกันและแก้ไขอาการอาเจียน
ถ้าผู้ป่วยมีอาเจียนอย่างต่อเนื่องมักใส่สายเข้าทางจมูกลงสู่กระเพาะ
อาหาร
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
เป็นความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะท้องอืด
งดอาหารที่ทาให้เกิดแก๊ส เช่น มะม่วงดิบ แตงโม ผักสด เป็นต้น
แสดงความเข้าใจและเห็นใจ
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลาบากและกลืนไม่ได้)
ภาวะกลืนไม่ได้ (Aphagia)
ภาวะกลืนลาบาก (Dysphagia)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกลืนลาบากและกลืนไม่ได้
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้าและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษา
ระมัดระวังการสาลัก
ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร (Feeding)
การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายทางปาก
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ได้รับอาหารตาม
ความต้องการของร่างกาย
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดอาหารพร้อมอาหาร
ช้อนหรือช้อนส้อม
แก้วน้าพร้อมน้าดื่ม และหลอดดูดน้า
กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
ผ้ากันเปื้อน
วิธีปฏิบัติ
การเตรียมผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม
การป้อนอาหาร
สำหรับผู้ป่วยพิการ
ถ้าผู้ป่วยจับช้อนไม่ถนัดควรสาธิตการใช้ช้อน
สำหรับผู้ป่วยกลืนลาบาก
ถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย ควรรับประทานอาหารเหลว
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric
intubation)
วัตถุประสงค์
เป็นทางให้อาหาร น้า หรือยา ในกรณีที่ผู้ป่วยรับประทานทางปากไม่ได้หรือ
ได้รับไม่เพียงพอ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ถาดสาหรับใส่เครื่องใช้
สาย NG tube เบอร์ 14-18 fr.
Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
ถุงมือสะอาด 1 คู่
Stethoscope
สารหล่อลื่น เช่น K.Y. jelly เป็นต้น
แก้วน้า
หลอดดูดน้า
พลาสเตอร์
กระดาษเช็ดปาก
ชามรูปไต
ผ้าเช็ดตัว
วิธีปฏิบัติ
ตรวจสอบความถูกต้องของคาสั่งการรักษา
ล้างมือให้สะอาด
นาอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ไปที่เตียงผู้ป่วย
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
วิธีการให้อาหารทางสายยางมี 2 วิธี
Bolus dose เป็นการให้อาหารทางสาย NG
Drip feeding เป็นการให้อาหารทางสาย NG
อุปกรณ์เครื่องใช้
1)ถาดสาหรับใส่เครื่องใช้
2) อาหารเหลวสาเร็จรูป หรืออาหารปั่น (Blenderized diet)
3) ในกรณีที่มียาหลังอาหารบดยาเป็นผงและละลายน้าประมาณ 15-30 ซีซี
4) ผ้ากันเปื้อน
5) Toomey syringe ขนาด 50 ml 1 อัน
6) ถุงมือสะอาด 1 คู่
7) Stethoscope
8) แก้วน้า
9) กระดาษหรือผ้าเช็ดปาก
10) สาลีชุบ 70% Alcohol 2 ก้อน
11) ชุดทาความสะอาดปาก ฟัน และจมูก
วิธีปฏิบัติ
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผล ข้อดีและประโยชน์ในการให้อาหารทางสายให้
อาหาร
ทำความสะอาดปาก ฟัน กรณีใช้เครื่องช่วยหายใจต้องทาการดูดเสมหะก่อนให้ทางเดินหายในโล่ง
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ผ้ากันเปื้อนหรือผ้าเช็ดตัว
2) ชามรูปไต
3) น้ายาบ้วนปาก
4) สาลีชุบ 70% Alcohol
5) ไม้พันสาลีชุบเบนซิน (Benzene) และน้าเกลือ (Normal saline)
6) ถุงมือสะอาด
7) ผ้าก๊อสสะอาด
วิธีปฏิบัติ
1) อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผล
2) ไขหัวเตียงสูงเพื่อจัดให้ผู้ป่วยอยู่ท่านั่ง
3) ตรวจคาสั่งการรักษา เพื่อยืนยันแผนการรักษา
4) ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้งและใส่ถุงมือ สวมmask
5) ปูผ้ากันเปื้อนหรือผ้าขนหนู และแกะพลาสเตอร์ที่ยึดสายจมูกออก
6) หักพับสาย และดึงสายออก