Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ🍓🍓🍒🍒🍉🍋 - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ🍓🍓🍒🍒🍉🍋
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่
ในอาหารหรือสารอาหาร ตลอดจนปฏิกิริยาระหว่างกันของสารอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่
สิ่งมีชีวิตย่อย ดูดซึม ขนส่ง น าสารอาหารไปใช้และสะสมในร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
อายุ เพศ การใช้ยา
ภาวะสุขภาพ ความชอบส่วนบุคคล ผลการดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ภาวะเศรษฐกิจ
วัฒนธรรม และปัจจัยด้านจิตใจ
ความสำคัญของอาหารต่อความเจ็บป่วย และความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะ
เจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงานพื้นฐาน (Basal energy expenditure: BEE) หรือพลังงานที่
ต้องการขณะพัก
ความต้องการพลังงานทั้งหมด (Total Energy Expenditure: TEE) หมายถึง ผลรวม
ของพลังงานทั้งหมดใน 1 วัน ซึ่งรวมถึง BEE พลังงานที่ใช้ในการย่อย และดูดซึมสารอาหาร
การประเมินภาวะโภชนาการ
การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement: A)
1) ดัชนีมวลของร่างกาย (Body Mass Index ; BMI)
2)การประเมินทางชีวเคมี (Biochemical assessment: B)
3)การตรวจร่างกายทางคลินิก (Clinical assessment: C)
4)การประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร(Dietary assessment: D)
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
1 Obesity (ภาวะอ้วน)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะอ้วน
2) จ ำกัดมื้ออาหารและสัดส่วนของอาหารตามพีระมิดอาหาร
3) จ ำกัดการใช้น้ ามัน ไขมันน้ าตาล
4) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แป้งและไขมันสูง
5) รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจ ากัดอาหารมื้อเย็น
6) หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารขณะดูโทรทัศน์
7) เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารจากผักผลไม้ และธัญพืชที่ไม่ขัดสี
8) ส่งเสริมให้ออกก ำลังกายอย่างสม่ าเสมอหรือสัปดาห์ละ 3 วัน
1) ค ำนวณพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
2 Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
Anorexia nervosa ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทาน
อาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน
Bulimia Nervosa เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทาน โดยจะ
รับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ โดยหลังจากรับประทานเสร็จจะรู้สึกไม่สบายใจและ
รู้สึกผิดที่รับประทานเข้าไปมากมาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Anorexia nervosa และ Bulimia nervosa
3) ดูแลด้านจิตใจ
4) การใช้ยา แพทย์อาจพิจารณาให้ยากระตุ้นความอยากอาหาร
2) ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุดและลดความรู้สึกเบื่ออาหาร โดย
จัดให้รับประทานอาหารในท่าสบาย
5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
1) หาสาเหตุ ที่พบได้บ่อย ๆ เช่น โรคปากและฟัน คออักเสบ โรคมะเร็ง
3.)Nausea and vomiting (อาการคลื่นไส้และอาเจียน)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
(3) คอยอยู่เป็นเพื่อนขณะที่ผู้ป่วยก าลังอาเจียน
(2) จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่อาเจียนออกได้สะดวก
(1) จัดหาภาชนะรองรับอาเจียน เตรียมกระดาษเช็ดปากหรือผ้าไว้ให้ผู้ป่วย
ส าหรับเช็ดปาก
Abdominal distention (ภาวะท้องอืด)
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนล าบากและกลืนไม่ได้)
การล้างภายในกระเพาะอาหาร (Gastric lavage)
การล้างภายในกระเพาะอาหาร ใช้มากในกรณีที่รับประทานยาพิษ
วัตถุประสงค์
1) ล้างกระเพาะอาหารในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาหรือสารพิษ
2) ทดสอบหรือยับยั้งการมีเลือดออกจ านวนน้อยในทางเดินอาหารส่วนบน
3) ตรวจสอบการอุดตันของสาย
4) ตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดและหลอดลม ในกรณีที่ไม่สามารถน า
เสมหะจากผู้ป่วยไปตรวจได้ ปัจจุบันไม่นิยมใช้เพราะใช้เครื่องดูดเสมหะได้
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ชุดล้างกระเพาะอาหาร (ภาชนะส ำหรับใส่สารละลายทั้งส าหรับเทสารละลาย
และที่ดูดออกจากผู้ป่วย และ Toomey syringe)
2) สารละลายที่ใช้ล้างกระเพาะอาหาร ใช้น้ าเกลือ (Isotonic saline)
3) ชามรูปไตหรืออ่างกลม
4) ผ้าเช็ดปาก หรือผ้าขนหนูผืนเล็ก หรือผ้ากันเปื้อน
5) สายยางส าหรับใส่ในกระเพาะอาหาร
6) Ky jelly
7) ถุงมือสะอาด 1 คู่และ Mask
วิธีปฏิบัต
1) ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
2) ประเมินสภาพผู้ป่วย อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ ปิดประตูหรือกั้นม่านให้เรียบร้อย
3) ล้างมือก่อนจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้
4) เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ให้พร้อม
5) ปูผ้าคลุมบนเตียงและตัวผู้ป่วยตรงที่จะปลดสาย
6) ใช้Toomey syringe ดูดสารละลาย 50 ซีซ
7) หักพับสายไว้ก่อนปลดรอยต่อ
8) ดูดน้ำออกเบา ๆ หรือปล่อยให้สารละลายไหลออกเอง
9) ใส่สารละลายเข้าไปแล้วปล่อยหรือดูดน้ำออกเรื่อย ๆ
10) ถ้ากรณีล้างกระเพาะอาหาร เพื่อห้ามเลือดในกระเพาะอาหาร ต้องท าการ
ล้างจนสารน้ ามีลักษณะสีแดงจางที่สุด หรือมีลักษณะใส
11) เมื่อสิ้นสุดการล้างกระเพาะอาหารแล้ว ให้ท าความสะอาดช่องปากและจัด
ท่าผู้ป่วยในท่าที่สุขสบาย
12) เก็บเครื่องใช้ท าความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
13) ลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
การป้อนอาหาร (Feeding)
การใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (Nasogastric
intubation)
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
การให้อาหารทางสายยางให้อาหารที่ใส่เข้าทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร